Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพและ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพและ
จุดประสงค์การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
1.การคุ้มครองผู้รับบริการหรือผู้บริโภค
2.การสงวนวิชาชีพให้กับบุคลากรในวิชาชีพ
3.การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพให้บริการอย่างมีมาตรฐาน
มาตรการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
1.ห้ามผู้ไม่มีสิทธิคือไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
2.ให้มีข้อกำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
3.มีมาตรการลงโทษ ในกรณีทีละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ
ข้อยกเว้น ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
1.การกระทำต่อตนเอง
2.การช่วยเหลือดูแลบุคคลอื่นให้พ้นจากความทุกข์ทรมาน
3.นักเรียน นักศึกษา ในสถาบันที่สภาฯรับรอง ภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
4.ผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ทำตามเกณฑ์การประกอบวิชาชีพตนแต่เข้าข่ายการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
5.ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯในประเทศของตน สภาจะออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ไม่เกิน
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
หมวดที่ 1 หลักทั่วไป
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
1.ผู้เสียหาย กล่าวหา ต่อสภาการพยาบาล
2.กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
4.สภาฯส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสินว่าคดีมีมูล
5.สภาฯส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา สอบสวน
6.คณะกรรมการสภาตัดสิน
อำนาจหน้าที่ของอนุกรรมการจริยธรรมและอนุกรรมการสอบสวน
อนุกรรมการจริยธรรม มีหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
นำหลักฐานพร้อมความคิดเห็นส่งให้คณะกรรมการสภาตัดสิน
อนุกรรมการสอบสวนไม่มีหน้าที่ตัดสิน
อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ มีกำหนด 3 ปี นับตั้งแต่วันเกิดเหตุ และมีกำหนด 1ปี นับแต่วันรู้ตัวผู้กระทำผิด
การพิจารณาสอบสวนโดยบุคคลต่อไปนี้
ผู้รู้เห็นเหตุการณ์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
คู่สมรส หรือเป็นญาติเกี่ยวข้องกับบุพการี
หรือพี่น้องร่วมบิดามารดากับผู้ถูกกล่าวหา กล่าวโทษ
การคัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการสอบสวน
ต้องยื่นต่อคณะกรรมการภายใน 7 วันนับตั้งแต่วันทราบคำสั่งของคณะอนุกรรมการสอบสวน
จะต้องดำเนินคดีไปจนเสร็จสิ้นการยอมความไม่มีผลต่อการพิจารณาคดีของสภาการพยาบาล
ไม่มีสิทธิแต่งตั้งทนายความขึ้นต่อสู้ทางคดีได้
การพิจารณาคดีจะทำเป็นคำสั่งให้นายกสภาลงนามคำสั่งสภาถือเป็นที่สุด คือ อุธรณ์ไม่ได้
รับทราบคำสั่งลงโทษ ถ้าเป็นการพักใช้ต้องหยุดประกอบวิชาชีพทันที
การเพิกถอนใบอนุญาตต้องส่งคืนใบอนุญาตภายใน 15 วัน ต่อเลขาธิการสภา
การขอขึ้นทะเบียนใหม่ภายหลังถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ระยะเวลาต้องพ้น 2 ปี นับแต่วันที่สภาการพยาบาลมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่ 1 สามารถยื่นขอครั้งที่ 2 ภายหลังครบ 1 ปี นับแต่วันที่คณะกรรมการสภาฯมีคำสั่งปฏิเสธคำขอครั้งแรก
พนักงานเจ้าหน้าที่
ในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย
อาญาต้องแสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง
สถานที่ที่กฎหมายกำหนด