Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน - Coggle Diagram
บทที่ 5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
เบาหวานก่อนตั้งครรภ์
ก่อนอายุุ 24 week
เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
พบครั้งแรกระหว่างการตั้งครรภ์
ผลกระทบของโรคเบาหวาน
ผลของโรคเบาหวานต่อการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์ทำให้การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดยากขึ้น
การเกิดภาวะ diabetic ketoacidosis
ความต้องการอินซูลินไม่แน่นอน
ผลต่อทารกในครรภ์
Malformation
Fetal death or Stillbirth
Abortion
Macrosomia
Intrauterine growth restriction: IUGR
ผลต่อมารดา
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ (Pregnancy induced hypertension: PIH)
การติดเชื้อ
Diabetic nephropathy
การคลอดก่อนกำหนด
Diabetic retinopathy
น้ำคร่ำมากกว่าปกติ
การคลอดยาก
การเสียเลือดหลังคลอด
ผลต่อทารกแรกคลอด
Neonatal hypocalcemia
Hyperbilirubinemia
Neonatal hypoglycemia)
Polycythemia
Respiratory distress syndrome: RDS
Hypertrophic and congestive cardiomyopathy
Inheritance of diabetes
การจำแนกชนิดของเบาหวานขณะตั้งครรภ์
Pregestational Diabetes (Overt DM)
Type I diabetes or Insulin dependent diabetes mellitus (IDDM)
Type II diabetes or Noninsulin dependent diabetes mellitus (NIDDM)
Gestational Diabetes Mellitus (GDM)
GDM A-1 คือ fasting plasma glucose น้อยกว่า 105 mg/dl
GDM A-2 คือ fasting plasma glucose มากกว่า 105 mg/dl
แนวทางการวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์โดยการตรวจ Oral Glucose Tolerance Test (OGTT)
จะทำในรายที่ตรวจคัดกรองแล้วมีผลน้ำตาลตั้งแต่140mg/dlขึ้นไป
การคัดกรองขณะตั้งครรภ์
Glucose challenge test
หากผลการตรวจตั้งแต่ 200 mg/dl จะวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์เลย
หากผลการตรวจตั้งแต่ 140-199 mg/dlจะนัด1 สัปดาห์มาตรวจวินิจฉัยเบาหวาน
การตรวจคัดกรองทำโดยให้ดื่มน้ำตาลกลูโคส50กรัมแล้วตรวจเลือดหลังดื่ม 1 ชั่วโมง ขณะอายุ
ครรภ์ที่ 24-28 สัปดาห
มีข้อบ่งชี้ดังนี้
ประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว
มีประวัติ GDM ในอดีต
BMI > 27 kg/m2
ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ
อายุมากกว่า 35 ปี
ประวัติการคลอดผิดปกต
การดูแลรักษา
ระยะตั้งครรภ์
การใช้Insulin
ควบคุมน้ำหนัก
งดอาหารน้ำตาล
ความสะอาดของร่างกาย
ควบคุุมเบาหวาน
การสังเกตเด็กดิ้น
การสังเกตภาวะแทรกซ้อน
ระยะคลอด
การใช้ Insulin
IV fluid
การกำหนดเวลาคลอด
การคลอดตามข้อบ่งชี้
ติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
ก่อนการตั้งครรภ์
การเสริมวิตามิน แนะนำกรดโฟลิก
การประเมินพยาธิสภาพต่างๆของหญิงตั้งครรภ์
ช่วยสนับสนุนการตั้งครรภ์ให้ประสบความสำเร็จ
การควบคุมระดับกลูโคสให้อยู่ในเกณฑ์ที่ดีก่อนการตั้งครรภ์
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
การออกกำลังกาย
ระยะหลังคลอด
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทั่วไป
การควบคุมระดับน้ำตาล
Breast feeding
การดูแลทารก
Hyperthyroidism, Thyrotoxicosis
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เจาะเลือดตรวจ Thyroid function โดยตรวจหาค่า TSH (Thyroid stimulating
hormone) จะต่ำ T3 uptake สูง T4 สูง แต่ในหญิงตั้งครรภ์คอพอกเป็นพิษบางรายอาจจะไม่สูงก็ได้ Free
thyroxine สูง (FT4) ค่าปกติของ TSH = 0.35-5 mU/dl FT4 = 0.8-2.3 ng/dl Total T3 = 80-220 ng/dl
ผลกระทบ
ต่อมารดา
มีโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ หรือหัวใจล้มเหลวได
รกลอกตัวก่อนกำหนด
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
ต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ มีความพิการแต่กำเนิด หรือตายคลอดได้สูง
มีโอกาสเป็นต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
อัตราการเต้นของหัวใจเร็วโดยไม่ทราบสาเหต
อัตราการเต้นของชีพจรเร็ว
ต่อมไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น ลักษณะเป็นคอพอก (goiter)
น้ำหนักไม่เพิ่มขึ้นทั้ง ๆ ที่รับประทานอาหารเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น
มีอาการหิวบ่อยหรือกินจุ
ตาโปน (exophthalmos)
ขี้ร้อน หงุดหงิด ตกใจง่าย อารมณ์แปรปรวน
อาการสั่น มือสั่น (tremor)
สาเหตุ
โรคพลัมเมอร์ (Plummer’s disease หรือ Toxic multinodular goiter)
เนื้องอกเป็นพิษ (Toxic adenoma หรือ multinodular toxic goiter)
โรคเกรฟ (Graves)
แนวทางรักษา
การผ่าตัด ไม่นิยมรักษาในสตรีตั้งครรภ์ พิจารณาใช้ในบางกรณี
การรักษาโดยยา
propythiouracil (PTU)
Methimazole (MMI, Tapazole)
การใช้สารรังสี (radioactive iodine) เป็นข้อห้ามสำหรับสตรีตั้งครรภ์ และมารดาที่ให้นมบุตร
Thyroid storm
การรักษา
การให้ยา
ยาต้านไทรอยด์ฮอร์โมน และ iodine
การรักษาแบบประคับประคอง
ประเมินสัญญาณชีพ
ให้ออกซิเจน
การให้น้ำเกลือ
ให้แคลอรี่และวิตามิน
ให้ Digoxin ในกรณีที่จำเป็น
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้อาเจียน
ปวดท้อง ท้องเสีย
มีไข้ มากกว่า หรือ 38.5C
ระดับความรู้สึกตัวมักจะเปลี่ยนแปลง
กระวนกระวาย สับสน
ชัก จนหมดสติ
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย (Hypothyroidism)
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักเพิ่ม
เสียงแหบ
ท้องอืด ท้องผูก
ความอยากอาหารลดลง
ผมร่วง เล็บเปราะ และหักง่าย
เกิดตะคริวบ่อย
ผิวหนังแห้งแตกหยาบ
ทนความเย็นไม่ได้
บวมกดไม่บุ๋ม หนังตาบวม อาจจะมีคอ
พอกหรือไม่ก็ได้
แนวทางการรักษา
โดยการให้ยา levothyroxine (L-thyroxine)
สาเหตุ
มีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์
Hashiomoto’s thyroiditis
ขาดไอโอดีน
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ทารกตายในครรภ์สูงกว่าปกติ
ภาวะความดัน
โลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มีโอกาสจะแท้งบุตร
การเสียเลือดหลังคลอด
ต่อทารก
ทารกมีปัญญา
อ่อนได้