Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 การพยาบาลครอบครัวและเวชปฏิบัติครอบครัว - Coggle Diagram
หน่วยที่ 4 การพยาบาลครอบครัวและเวชปฏิบัติครอบครัว
การเยี่ยมบ้าน
ความหมาย
การบริการช่วยเหลือที่บ้านแก่บุคลตามแบบแผนการดูแลที่เหมาะสมกับครอบครัวหรือผู้ป่วยนั้นๆโดยเริ่มตั้งแต่การประเมินสุขภาพการประสานงานหรือส่งต่อ
Home visit กลวิธีในการดูแลสุขภาพบุคคลและผู้ป่วยที่บ้าน
Home word การดูแลผู็ป่วยต่อเนื่องจากโรงพยาบาลโดยใช้บ้านเสมือนเป็นเตียงผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Home health care ดูแลสุขภาพตนเองที่บ้าน
ข้อดีของการเยี่ยมบ้าน
พยาบาลรวบรวมข้อมูลที่มีผลต่อสุขภาพได้
สร้างเสริมศักยภาพในการดูแลตนเอง
ลดปํญหาการเข้าไม่ถึงระบบการดูแลสุขภาพ
ลดการเจ็บป่วยลง
ผู้รับบริการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
แนวคิดการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน
การดูแลต่อเนื่อง ตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพของบุคลโดยความร่วมมือจาก สหวิชาชีพ
การพยาบาลองค์รวม ดูแลบุคคลเป็นหนึ่งเดียวโดยการผสมผสนาระหว่างกาย จิต อารมณ์ สังคมและสิ่งแวดล้อม
ทฤษฏีระบบ กระบวนการต่อเนื่องตั้งแต่ปัจจุบันนำเข้ากระบวนการและผลลัพธ์
กระบวนการพยาบาล แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ 5 ขั้นตอน
ทฤษฏีการพยาบาล ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติพยาบาลได้ดี
ข้อจำกัดของการเยี่ยบ้าน
ผู้รับบริการต่อต้านในระยะแรก
พยาบาลประสบปํญหาความไม่ปลอดภัย
สภาพแวดล้อมเบี่ยเบนความสนใจ
เจ้าหน้าที่เสียค่าใช้จ่ายสูง
กลุ่มเป้าหมาย
ประชากรตามกลุ่มวัยรุ่นและกลุ่มเสี่ยง
ประชากรกลุ่มป่วยนอกเหนือจากกลุ่มเป้าหมายการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน
ประชากรทั่วไปในพื้นที่รับผิดชอบ
ประเภท
ประเมินสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
เยี่ยมบ้านหลังออกจากโรงพยาบาล
ใกล้เสียชีวิต
เยี่ยมบ้านเพื่อทำความรู้จัก
กรณีเจ็บป่วย
หลักการจัดลำดับ
ความเร่งด่วนในการช่วยเหลือ หากช้าจะเกิดอันตรายแก่ผู้รับบริการ
ทราบประวัติเจ็บป่วยแน่นอนและต้องการความช่วนเหลือ
ต้องให้การพยาบาล เช่น ดูแลแผลกดทับ
มีอาการเจ็บป่วยแน่นอนและต้องการความช่วยเหลือ
ต้องให้การพยาบาล เช่น ดูแลแผลกดทับ
มีอาการเจ็บป่วยไม่รุนแรง เช่น ไข้หวัด
เจ็บป่วยเรื้อรัง เช่น DM,HT
โรคติดต่อ เชน TB AIDS
วัตถุประสงค์
พัฒนาศักยภาพในการดูแลสุขภาพครอบครัว
สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
ฟื้นฟูสุขภาพ
แนะนำครอบครัวและประชาชนรู้จักการใช้แหล่งบริการสุขภาพ
ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคในกลุ่มที่มีสุขภาพดี
จัดระเบียบความเป็นอยู่ในครอบครัว
เพื่อประเมินภาวะสุขภาพ บุคคล ครอบครัวและชุมชน
พัฒนาศักยภาพในการดูแลสุขภาพในการดูแลสุขภาพของบุคคลและครอบครัว
การพยาบาลครอบครัว
การรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
แหล่งทุติยภูมิ เก็บรวบรวมจากผู้อื่น/แหล่งอื่น
แหล่งปฐมภูมิ เก็บจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
วิธีการรวบรวมข้อมูล
ทดสอบ (Test)
ตรวจร่างกาย (Physical examination)
สัมภาษณณ์ (Interview)
การรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่างๆ
สังเกต ( Observation)
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลปรนัย จากการเก็บข้อมูลของพยาบาล
ข้อมูลอัตนัย จากคำบอกเล่า
ความสำคัญในการดูแลครอบครัว
สถาบันพื้นฐานทางการศึกษาของสังคม
มีความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกของชุมชน
สร้างคุณภาพชีวิต
วางรากฐานการปกครองในระดับต่างๆ
เข้าหลอมทางบุคลิกภาพและคุณลักษณะของสมาชิก
อิทธิพลต่อการดูแลสุขภาพอนามัย
ระยะยอมรับว่ามีการเจ็บป่วยเกิดขึ้น
ระยะแสวงหาการรักษา
ระยะเริ่มต้นการเจ็บปป่วย
ระยะที่ยอมรับว่าต้องพึ่งพาผู้อื่น
ระยะป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
ความหมาย
การให้การดูแลภาวะสุขภาพครอบครัวการดูแลเพื่อลดความทุกข์ทรมานของบุคคลและครบครัวการบริการสุขภาพครอบครัวโดยใช้ศาสตร์ทาการพยาบาลมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพครอบครัวและช่วยให้ครอบครัวสามารถเผชิญภาวะวิกฤตต่างๆได้
ขั้นตอนการเยี่ยมบ้าน
ก่อนเยี่ยมบ้าน
เตรียมข้อมูล บุคคล ครอบครัว และชุมชน
เตรียมสมุดบันทึกและกระเป๋าเยี่ยม
เตรียมตนเอง
หลังเยี่ยมบ้าน
Objective ข้อมูลจากการตรวจพบและสังเกต
Assessment ประเมินปัญหาผู้ป่วยและครอบครัว
Subjective ข้อมูลจากคำบอกเล่าทั้งกาย จิต สังคม
Plan management ต้องครอบคลุมการแก้ปัญหาที่เป็นองค์รวมและต่อเนื่อง
ปัจจัยสนับสนุน
ผู้ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
แหล่งประโยชน์ในชุมชน
ศักยภาพชุมชน
ขณะเยี่ยมบ้าน
ปรับเปลี่ยนแผนเข้าเยี่ยมอย่างเหมาะสม
ดำเนินการช่วยเหลือตามแผนที่วางไว้
ศึกษาข้อมูลจากการสังเกต ซักถาม ตรวจวินิจฉัย
ประเมินผล
สร้างสัมพันธภาพ แจ้งวัตถุประสงค์ในการเบี่ยม
กระบวนการพยาบาลครอบครัว
การวางแนการพยาบาล
ข้อคำนึง
ครอบครัวมีส่วนร่วม
เสริมความเข้มแข็งในครอบครัว
จัดความเหมาะสมกับทักษะครอบครัว
เพิ่มความสามารถในการแก้ปัญหา
มีแหล่งประโยชน์เพียงพอ
เขียนวัตถุประสงค์
กำหนดกิจกรรมการพยาบาล
จัดลำดับความสำคัญ
กำหนดการประเมิน
ปฏิบัติการดูแลครอบครัว
ขั้นตอน
ปฏิบัติ ทักษะปัญญา สร้างสัมพันธภาพ ปฏิบัติ
หลังปฏิบัติ ให้คำแนะนำ บันทึก จัดสิ่งแวดล้อม
เตรียม อุปกรณณ์ ความพร้อม นัดหมาย
รูปแบบ
สร้างการปรับเปลี่ยนบทบาทในครอบครัว
ประคับประคองด้านจิตใจ
ให้คำปรึกษา
ประคับประคอง
เสริมพลังครอบครัว
ประคับประคองวิชาชีพ
ให้การสอนครอบครัว
การมีส่วนร่วมของครอบครัว
บทบาทไม่อิสระ อยู่ภายใต้การดูแลหรือคำสั่งของแพทย์
บทบาทความร่วมมือ การตัดสินใจร่วมกันของพยาบาลและทีมสุขภาพ
บทบาทอิสระ อยู่บนพื้นฐานความรู้และทักษะการพยาบาล
การวินิจปัญหา
แนวทางการเขียน
อยู่ในขอบเขตของการปฏิบัติการพยาบาล
การตอบสนองและเหตุปัจจัยไม่ซ้ำกันหรือไปแนวทางเดียวกัน
ข้อความแสดงพฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ในลักษณะของปัญหา
ใช้ข้อความเชิงการพยาบาลมากกว่าการแพทย์
ใช้ข้อความไม่เสี่ยงต่อความผิดกฏหมาย
หลีกเลี่ยงการใช้อาการและอาการแสดงเป็นพฤติกรรมตอบสนองของร่างกายที่บอกปัญหา
หลีกเลี่ยงการใช้ข้อความเชิงคาดคะเน
ไม่ใช่ข้อที่บ่บอกพฤติกรรมการพยาบาลเป็นปํญหาการพยาบาล
การกำหนดภาวะสุขภาพ สุขภาพดี เสี่ยง มีปัญหา
การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การจัดทำข้อมูล วิเคราะห์ แปล จัดหมวดหมู่
การประเมินครอบครัว
ภาวะสุขภาพ
ประเมินภาวะสุขภาพ ตาม 11 แบบแผนของกอร์ดอน
บทบาทหน้าที่
ค่านิยม ทัศนคติและอำนาจในการตัดสินจของครอบครว
เผชิญปัญหาครอบครัว
จัดหาทรัพยากรทางเศรษกิจ
จัดหาสิ่งจำเป็นพื้นฐานทางกายภาพ
ผลิตสมาชิกใหม่
อบรมเลี้ยงดูสมาชิก
ความรัก ความเอาใจใส่
สัมพันธภาพ
ผังความสัมพันธ์และเครือข่ายความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวเป็นการรวบรวมชนิดและระดับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งต่างๆ
พัฒนาการ
ระยะมีบุตรวัยรุ่น
ระยะเริ่มครอบครัวใหม่
ระยะมีบุตรก่อนวัยเรียน
ระยะครอบครัววัยกลางคน
ระยะเริ่มเลี้ยงดูบุตร
ระยะครอบครัววัยชรา
ระยะครอบครัวเริ่มต้น
ระยะมีบุตรวัยเรียน
โครงสร้าง
แหล่งประโยชน์ของครอบครัว
ความเชื่อและพฤติกรรมด้านสุขภาพ
ฐานะทางเศรษฐกิจของครบครัว
ความเชื่อและพฤติกรรมด้านศาสนา
สภาพที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้ม
ระบบครอบครัว
ประเมินผลการดูแล
การตัดสินผลการประเมิน
ปัญหาได้รับการแก้ไขบางส่วน
ไม่ได้แก้ปัญหา
ปัญหาได้รับการแก้ไขอย่างสมบูรณ์
บันทึกกการพยาบาล
กิจกรรมสุดท้ายของการวางแผนการพยาบาลมีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาทางการพยาบาล จุดมุ่งหมายกิจกรรมการพยาบาลและเกณฑ์ประเมิน
ระหว่างให้การพยาบาล
สิ้นสุดการให้การพยาบาล
คุณสมบัติและทักษะจำเป็น
ทักษะเข้าถึงชุมชน
ทักษะการเป็นผู้นำ
สังเกตและประเมินสภาพผู้รับบริการ
ทักษะการทำงานทีม
ทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพที่บ้าน
ทักษะการประสานงาน
ทักษะสื่อสารและพัฒนาความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ
ทักษะสื่อสารและจูงใจ
มีความรู้พื้นฐนชุมชนที่ดี
ทักษะการเสริมพลังด้านสุขภาะ
มีการตัดสินใจที่ดี
ทักษะการเก็บข้อมูลและการเลือกใช้ขอมูล
เชียวชาญด้านวิชาชีพในสาขาทั่วไป
จัดทำโดย นางสาวศิญาพร เถาวัลย์ราช
รหัสนักศึกษา 611410009-8
นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3