Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1 Rheumatic Heart Disease - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 1
Rheumatic Heart Disease
สาเหตุของการเกิดโรคในผู้ป่วยรายนี้
ติดเชื้อ streptococcus group A อยู่ที่ระบบทางเดินหายใจส่วนบน
ประวัติผู้ป่วยเป็นโรคหอบหืด
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
มีไข้
กิจกรรมการพยาบาลในระยะแรกของผู้ป่วยรายนี้
1.ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึน
ประเมินสัญญาชีพความดันโลหิต ชีพจร อัตราการหายใจ และประเมินความอิ่มตัวของออกซิเจน
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขับปัสสาวะ Lasix 40 mg. 1x1 oral OD
ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษาเพื่อรักษาระดับoxygen saturation ให้ปกติ(95-98%)
ดูแลให้ผู้ป่วยได้Bed restโดยช่วยเหลือทeกิจกรรมให้ผู้ป่วยในระยะที่ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยหอบ
ติดตามผลเลือดทางห้องปฏิบัติการได้แก่ serum K+, Na+ และ BUN/Cr
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนหัวสูงโดยจัดท่าFowler’s positionเพื่อลดอาการเหนื่อยหอบ
ดูแลให้ได้รับยาLanoxin 0.25 mg 1x1 oral OD เพื่อรักษาจังหวะการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ(ยากลุ่ม Cardiac Glycoside)
ดูแลให้ได้รับยา Penicillin G sodium 2 million units IV q 4 hr เพื่อฆ่าเชื้อ(ยากลุ่ม Penicillin)
ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกิน หรือขาดน้ำ (Optimize volume status)
บันทึกปริมาตรน้ำดื่ม และ ปัสสาวะ
บันทึกน้ำหนักตัวผู้ป่วยทุกวัน พร้อมทั้งประเมินความสมดุล
สังเกตและประเมินภาวะน้ำเกินได้แก่ การบวม อาการเหนื่อย นอนราบไม่ได้ หายใจลำบาก นำหนักตัวไม่ลดลง และ นอกจาก สังเกตภาวะน้ำเกินพยาบาลต้องสังเกตภาวะขาดนาในผู้ป่วย บางรายที่ไดร้ับยาขับ ปัสสาวะปริมาณสูงซึ่งถ้าได้รบัมากไปก็อาจมีอาการขาดนาได้แก่ภาวะนาหนักลดลงมากเกินไปความดันโลหิตต่ำมีอาการหน้า มืดขณะลุกเดิน
จำกัดน้ำดื่มผู้ป่วยตามแผนการรักษาพร้อมทั้งให้คำแนะนำถึงสาเหตุของการจำกัดน้ำ
การดูแลผู้ป่วย ก่อน - หลังผ่าตัดเป็นอย่างไร
สิ่งที่ป่วยได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเทียมควรจะต้องทราบ
ยานี้มีปฏิกิริยาเมื่อใช้ร่วมกับยาอื่นๆหลายขนาดรวมทั้งยาแก้หวัดต้านการอักเสบยาสมุนไพรยาเสริมดังนั้นจึงไม่ควรซื้อยาต่างๆรับประทานเองโดยเด็ดขาด
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อห้ามทำผ่าตัดใดๆห้ามทำฟันก่อนปรึกษาแพทย์โรคหัวใจที่ดูแล
จำเป็นต้องพบแพทย์และตรวจการแข็งตัวของเลือดเป็นระยะเพื่อปรับยาให้เหมาะสมตามห้ามเองพบแพทย์ตามนัดเสมอเพื่อประโยชน์ของท่านเอง
หากมีเลือดออกผิดปกติ ให้หยุดยาและพบแพทย์ทัน
ยาป้องกันการเกิดลิ่มเลือดนี้มีอันตรายเพราะทำให้เลือดแข็งตัวช้าเลือดออกง่ายและมากผิดปกติในทุกๆส่วนของร่างกายอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้
หลีกเลี่ยงโอกาสเกิดอุบัติเหตุ หรือ งานที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ
จำเป็นต้องรับประทานยาป้องกันการเกิดลิ่มเลือด ไปตลอดชีวิต
ผู้ป่วยสตรีที่รับประทานยานี้อยู่ โอกาสที่เด็กจะพิการ มีสูงมาก
ลิ้นหัวใจเทียมเป็นสิ่งแปลกปลอม ร่างกายจะสร้างลิ่มเลือดเล็กๆเกาะที่ลิ้นหัวใจทำให้ลิ้นหัวใจเสียต้องผ่าตัดเปลี่ยนอีกและลิ่มเลือดเหล่านี้ทำให้เกิดอาการอัมพาตได้นอกจากนั้นลิ้นหัวใจเทียมยังติดเชื้อโรคง่ายกว่าลิ้นหัวใจปกติ
ควรตรวจฟันทุก 6-12 เดือน
การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเทียม แม้ว่าไม่ได้ทำให้คุณหายขาดจากโรคหัวใจ แต่คุณจะสบายขึ้นมีอายุยืนยาวขึ้นสามารถปรับไปทำงานได้
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
เตรียมความพร้อมต่างๆ เพื่อความปลอดภัยในการรักษาโดยการผ่าตัด
การเตรียมข้อมูลการวินิจฉัยต่างๆของผู้ป่วยให้พร้อม เพื่อเป็น
แนวทางในการรักษาโดยการผ่าตัด
การตรวจร่างกายซ่ึงจะเน้นระบบหัวใจและหลอดเลือดและซักประวัติ เพื่อได้ทราบข้อมูลการรักษาต่อเนื่องตลอดจนโรคร่วมต่าง ๆ การตรวจ Chest X-ray
การตรวจ ECG เพื่อดูเป็นข้อมูล พื้นฐานก่อนผา่ตัดในเรื่องอัตราการเต้นของหัวใจ ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจทางห้องทดลองต่างๆ เช่น CBC,Electrolyte, prothrombintime, partial Thromboplastin Time, BUN, Creatinine, Typing and Cross matchingเป็นตวับอกไดถ้ึงสภาวะของโรคความเสี่ยงภาวะแทรกซอ้น ที่อาจเกิดข้ึนในขณะผ่า ตัด หรือหลังผ่าตัดได้
การตรวจและรักษาฟันก่อนผ่าตัด เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดการ ติด
เช้ือของProsthetic Valve Endocarditis
ผู้ป่วยที่ไดร้ับการผ่า ตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจอาจต้องให้ Heparin Intravenous 1-2 วัน ก่อนผ่าตัดและหยุดยาก่อนผ่าตัด 12ชั่วโมง
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัดที่มีประสิทธิภาพและการบันทึกที่สมบูรณ์จะเป็นข้อมูลที่สำคัญในการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลของผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
ผู้ป่วยจะมีความวิตกกังวลมากในระยะ48ชั่วโมง หลังผ่าตัดซึ่งผู้ป่วยจะอยู่ในหอผู้ป่วยระยะวกิฤต มีสิ่งแวดลอ้มที่ก่อใหเ้กิดความเครียดทางด้านร่างกายและจิตใจขึ้น โดยเฉพาะความเครียดทางด้านจิตใจการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดจะช่วยลดความวติกกงัวลเหล่านี้ลงได้
เมื่อผู้ป่วยได้รับการส่งต่อมาถึงหอผู้ป่วยจะได้รับการประเมินอย่างรวดเร็วเพื่อให้ทราบสภาวะผู้ป่วยในขณะนั้น รวมทั้งการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนได้ในขณะเคลื่อนย้าย
ติดตามประเมินค่าสัญญาณชีพต่างๆอย่างต่อเนื่อง ECG
Monitoring วัดความดันทาง Arterial Line, Pulse Oximetry, Central Venous Blood Pressure, การวัดอุณหภูมิร่างกายรวมท้งัการตวงปัสสาวะทุก1-2 ชั่วโมง
กลไก / พยาธิสภาพของการเกิดโรค
ติดเชื้อ streptococcus group A
ทำให้เกิดการสร้างภูมิต้านทาน
ส่งผลให้มีการทำลายเนื่อเยื่ออื่นๆ รวมทั้งลิ้นหัวใจด้วย
ทำให้ลิ้น Tricuspid valve รั่ว และลิ้น Mitral valve ตีบ เนื่องจากกรอบ เเข็ง ความยืดหยุ่นน้อยเเละมีไขมัน หินปูนเกาะ
หัวใจฝั่งซ้ายทำหน้าที่ปั้มเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย ความดันจึงสูงกว่า พอบีบตัวเเรง เลือดก็จะพุ่งแรง
ทำให้เลือดย้อนกลับเข้าปอด ช่องว่างที่ให้อากาศเข้าเหลือน้อย ทำให้ผู้ป่วยออกเเรงมากในการเพิ่มพื้นที่ปอดในการหายใจ
ส่งผลให้ผู้ป่วยเนื่อยหอบขณะพักหรือทำกิจกรรม