Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกน้ำหนักตัวผิดปกติ ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์, นางสาวอธิตยา สิงห์ซอม…
ทารกน้ำหนักตัวผิดปกติ ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
จําแนกตามน้ำหนักแรกเกิด
จําแนกตามอายุในครรภ์
จําแนกตามน้ำหนักแรกเกิดและอายุในครรภ์
Appropriate for gestational age
อยู่ระหว่างเปอรเ์ซนต์ไทล์ที่ 10 ถึง 90
น้ำหนักเหมาะสมกับอายุครรภ์
พบได้ร้อยละ 80 ของทารกทั้งหมด
Large for gestational age
น้ำหนักมากกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่90
น้ำหนักมากกว่าอายุครรภ์
น้ำหนักมากกว่า4000กรัม
ปัจจัยที่ส่งผล
กรรมพันธุ์(มารดาน้ำหนักมาก)
เพศ (เพศชายมักมีขนาดตัวใหญ่มากกว่า เพศหญิง)
ปัจจัยทางด้านพยาธิสรีรวิทยา เช่น hydrops fetalis
การมีหลอดเลือดใหญ่อยู่ผิดที่ Beckwith-Wiedemannsyndrome
ภาวะแทรกซ้อนของ IDM
CPD ส่งผลให้ทารกบาดเจ็บจากการคลอดErb’spalsy
ใช้ออกซิโตซิน ช่วยคลอดด้วยคีม หรอืผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
มีภาวะหายใจลําบาก ระบบหายใจมีการพัฒนาล่าชา
เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซียมต่ำ
ภาวะเลือดข้น ตัวเหลือง
caudal regression syndrome :red_flag:
การรกัษา
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดตลอดการตั้งครรภ์
อาจวางแผนC/S
ประเมินน้ำตาลในเลือดบ่อยๆ ในระยะหลังคลอด
ให้สารน้ำที่มีกลูโคส 10-15% IV
ประเมินการบาดเจ็บของทารกเพิ่มเติมจากการเอกเรย์หรือ ซีทีสแกน
(CT-scan)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่อง เนื่องจาก ระบบทางเดินหายใจยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่และสร้างสารลดแรงตึงผิวได้น้อยจากภาวะ เบาหวานของมารดา
การกําซาบของเนื้อเยื่อ ไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจาก: ทารกมีภาวะเลือดข้น เลือดมีความหนืด
การเจริญ เติบโต และพัฒนาการล่าช้าเนื่องจาก: ทารกมีภาวะ น้ำตาลในเลือดสูงเพราะมารดาเป็นเบาหวาน
ภาวะเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ เนื่องจาก: บาดเจ็บ
จากการคลอดเนื่องจากทารกมีขนาดตัวโต น้ำตาลในเลือด ต่ำเนื่องจากมีอินสุลินสูงในระยะก่อนคลอด
Low birth weight
very low birth weight : VLBW
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 2,500 กรัม
อาจจะเป็น preterm/term/postterm
extremely low birth weight : ELBW
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 1,000 กรัม
(intrauterine growth restriction, IUGR
ความหมาย
เป็นสาเหตุการตายปริกำเนิดของทารกสูงเป็นอันดับสอง
อัตราตายปริกำเนิดของทารกในกลุ่มนี้สูงกว่า ทารกปกติ6-10 เท่า
สาเหตุการตายส่วนใหญ่เกิดจาก intrauterine asphyxiaและหรือความพิการแต่กําเนิดของทารก
ทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 10 thpercentile
ของ น้ำหนักทารกที่อายุครรภ์นั้น ๆ
สาเหตุของ IUGR
สาเหตุจากตัวทารกเอง (fetal causes)
การติดเชื้อในครรภ์
ความผิดปกติของโครโมโซม โดยเฉพาะ trisomy 18, trisomy 13
สาเหตุจากมารดา (maternal causes)
ภาวะขาดอาหาร อาจเกิดจากมารดามีโรคเรื้อรังที่ทําให้การดูดซึม
สารอาหารผิดปกติไป เช่น Crohn'sdisease
น้ำหนักมารดาขึ้นน้อย
ภาวะโลหิต จางรุนแรง เช่น thalassemia
ภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
โรคทางหลอดเลือดในมารดา
โรคไตบางชนิด
ยาและสารอันตราย เช่น บุหรี่แอลกอฮอล์
ครรภ์แฝด
สาเหตุจากรก (placental causes) และสายสะดือ
รกเสือมสภาพ (placental infarction)
รกลอกตัวก่อนกําหนด (placental abruption)
chorioangioma(เนื้องอกรก)
รกเกาะต่ำ และ circumvallate placenta
marginal insertion และ velamentous insertion ของสายสะดือ
ภาวะแทรกซ้อนทั้งต่อมารดาและทารก
ผลต่อทารก
hypoglycemia
hypocalcemia
polycythemia
Hyperbilirubinemia
Meconium aspiration syndrome
ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เพราะภูมิต้านทานต่ำ
ความผิดปกติอื่น ๆ ที่สัมพันธ์กับ FGR
เพิ่ม ความผิดปกติในพัฒนาการระยะยาว
ผลต่อมารดา
เพิ่ม อัตรา C/S เนื่องจากพบทารกมีภาวะเครียดได้สูง
เพิ่มภาระในการเลี้ยงดูสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากขึ้น
ส่งผลกระทบกระเทือนทางด้านจิตใจสูง
ทารกครรภ์เกินกําหนด (PosttermInfant)
ปัจจัยที่อาจส่งผลให้คลอดเกินกําหนด
ทารกที่คลอดหลังจากอายุครรภ์42 สัปดาห์
การตั้งครรภ์ครั้งแรก
การตั้งครรภ์ครั้งที่ 5 เป็นต้นไป
มีประวัติระยะเวลาในการคลอดล่าช้า
มารดาอาจจําประจําเดือนครั้งสุดท้ายคลาดเคลื่อน
ประจําเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดเกินกําหนด
น้ำคร่ำน้อย
ทารกอาจได้รับสารอาหารและออกซิเจนไม่เพียงพอ
มีการถ่ายขี้เทาลักษณะเหนียวเนื่องจากมีน้ำคร่ำน้อย
รกเสื่อม
สายสะดือถูกกด
ทารกคลอดเกินกําหนดจะมีลักษณะ
ตื่นตัว
ตาเปิดกว้าง
ลําตัวผอมยาว
ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ผิวหนังมีขี้เทา
แห้ง
ลอก
ไม่มีไขหรือขนอ่อน
เล็บยาว
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะทารกสูดสําลักขี้เทา
ขาดออกซิเจนในระหว่างการคลอด
ภาวะตัวเย็น
ภาวะน้ำตาลในเลือด่ำ
ภาวะเลือดข้น
ภาวะตัวเหลือง
ภาวะชัก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจาก: ระบบการ ควบคุมอุณหภูมิยังไม่สมบูรณ์มีไขมันใต้ผิวหนังและไขมันสีน้ำตาล น้อยเนื่องจากคลอดเกินกําหนด
ภาวะเสี่ยงต่อการบาดเจ็บเนื่องจาก: ระดับน้ำตาลในเลือดไม่เพียงพอต่อ เมตาบอลิสของร่างกายเนื่องจากคลอดเกินกําหนด
ภาวะเสี่ยงต่อสัมพันธภาพระหว่างบิดากับมารดาของทารกบกพร่อง เนื่องจาก: ทารกมีลักษณะที่ต่างจากปกติเนื่องจากคลอดเกินกําหนด ทารกแยกจากครอบครัวเนื่องจากต้องได้รบัการดูแลที่ห้องทารกป่วย
ภาวะการแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่องเนื่องจาก: ขี้เทาอุดกั้นทางเดินหายใจ ปอดสร้างสารลดแรงตึงผิวยังไม่สมบูรณ์
ยังคงมีระบบไหลเวียนเหมือนทารกในครรภ์
การรกัษา
ตรวจอัลตราซาวนด์เพื่อประเมินอายุครรภ์และความผิดปกติของทารก
ประเมินทารกด้วย NST, CST และให้คลอดเมื่ออายุครรภ์43 สัปดาห์
ดูดมูกก่อนทารกคลอดทั้งตัว และใส่สาย NG เพื่อดูดขี้เทาที่อยู่ใน
ระดับลึกก่อนที่จะหายใจครั้งแรก
ช่วยเหลือการหายใจของทารก ตรวจระดับแก๊สในเลือด ตรวจเอกซเรย์
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ กลูโคส ฮีมาโตครติ บิลลิรูบิน
(SGA) Small for gestational age
ข้อวนิ ิจฉัยการพยาบาล
การรักษาอุณหภูมิร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจาก ข้อจํากัดของร่างกายในการรักษาอุณหภูมิของร่างกาย ได้แก่เกิด ก่อนกําหนด มีไขมันใต้ผิวหนังน้อย
การแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่องเนื่องจาก: พลังงานสะสมใน ร่างกายลดลง หายใจไม่มีประสิทธิภาพ สูดสําลักขี้เทา
การปฏิบัติหน้าที่บิดามารดาบกพร่อง เนื่องจาก: ทารกถูกแยกไป
รักษาที่ทารกป่วย มารดาติดสารเสพติดหรือสุราขณะตั้งครรภ์ มารดาไม่ต้องการบุตร
ปัจจัยที่ส่งผลต่อขนาดและรูปร่างของทารก
พันธุกรรม
เพศ
ที่อยู่อาศัยบนที่สูง
ความผิดปกติของโครโมโซม
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์(IUGR)
ภาวะแทรกซ้อน
พลังงานสะสมในร่างกายทารกลดลง
น้ำคร่ำน้อย
ทารกขาดออกซิเจนในระหว่างการคลอด
สําลักน้ำคร่ำ
ตัวเย็น
น้ำตาลในเลือดต่ำ
แคลเชียมต่ำ
ภาวะเลือดข้น
ตัวเหลือง
สาเหต
มารดาติดสารเสพติด
สุรา สูบบุหรี่
มีภาวะซีดเรื้อรัง
โรคหัวใจ
โรคไต
ตั้งครรภ์แฝด
ความผิดปกติทางโครโมโซม
ติดเชื้อแต่กําเนิด เช่น TORCH ซิฟิลิส
symmetric growth retardation
(asymmetrical growth retardation)
การรกัษา
ระบุความเสี่ยงต่อภาวะ IUGR ของทารกจากการวัดHF. ,U/S
ให้คลอดเมื่อครรภ์ใกล้ครบกําหนดหรือทารกอาจไม่ปลอดภัย
ดูดน้ำคร่ำ และช่วยกู้ชีพ เมื่อคลอด
ดูแลควบคุมอุณหภูมิร่างกาย และให้ดูดนมแม่โดยเร็วหลังคลอด
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
นางสาวอธิตยา สิงห์ซอม เลขที่86 ชั้นปีที่3