Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6โรคติดเชื้อร่วมกับ การตั้งครรภ์, นางสาวพิมลมาศ ศักดิ์ศรี …
5.6โรคติดเชื้อร่วมกับ
การตั้งครรภ์
Syphilis
การวินิจฉัย
1.การตรวจเลือด
การตรวจ VDRL หรือ RPR
FTA-ABS
2.การส่งตรวจน้ำไขสันหลังเพื่อวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
Primary
: หลังรับเชื้อ 10-90วนั แผลริมแข็งมีตุ่มแดง แผลริมแข็งมีตุ่มแดง
Secondary
: ทั่วตัวผ่ามือผ่าเท้าไข้ปวด ตามข้อข้ออักเสบ ต่อ น้ำเหลืองโต ผมร่วง
Latent
: ไม่แสดงอาการ
Tertiary or late
: ทำลายอวยัวะภายใน เช่น หัวใจ และหลอดเลือดสมอง ตาบอด
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ Treponema pallidum เข้าสู่ ร่างกายทางรอยฉีกขาดของผนังช่องคลอด และแพร่กระจายผ่านระบบหลอดเลือดและน้ำเหลือง ส่งผลให้มีการอักเสบของปลายหลอดเลือดเล็ก ๆ ผนังหนาตัวและเกิดการอุดตันของรูหลอดเลือด ผิวหนังขาดเลือด ตายและเกิดแผล
ภาวะแทรกซ้อน
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกบวมน้ำ
ทารกตาบอด
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
การรักษา
1.การรักษาระยะต้น ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM ครั้งเดียว แบ่งฉีดที่ สะโพก ข้างละ 1.2 mU อาจลดอาการปวด โดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
2.การรักษาระยะปลาย ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM สัปดาห์ละครั้ง นาน 3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU อาจลดอาการปวด โดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ควรอธิบายให้เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองซิฟิลิส
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา อธิบายให้เห็นความจำเป็นของการต้องรักษา แต่เนิ่น ๆ การรักษาให้ครบตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันเชื้อดื้อยาและลดภาวะแทรกซ้อนต่อทารก ในครรภ์
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ และการป้องกันโรคโดยการสวมถุงยางอนามัย
แนะนำให้พาสามีมาตรวจและรักษาด้วย เพื่อป้องกันการติดเชื้อซ้ำ
ให้การปรึกษาและดูแลทางด้านจิตใจ เปิดโอกาสให้ซักถามและระบายความรู้สึก
ระยะคลอด
: เน้นการใช้หลัก Universal precaution และป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและ จมูกโดยเร็วและเจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะหลังคลอด
: สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
Zika fever
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะ ออกผื่นที่ลำตัว และแขนขา ปวดข้อ ปวดในกระบอกตาเยื่อบุตาอักเสบ
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการ การเดินทาง ลักษณะที่อยู่อาศัย
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG
ต่อไวรัสซิกา สำหรับการตรวจหา IgM สามารถตรวจพบได้ภายใน 3 วัน นับแต่แสดงอาการ การตรวจหาภูมิคุ้มกัน (IgM) ด้วย วิธี ELISA หรือImmunofluorescenceหากพบว่าผลการตรวจเป็นลบแนะน าให้เก็บ Plasma ส่งตรวจซ้ำภายใน 3-4 สัปดาห์
วิธีการตรวจดีเอ็นเอสามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง
การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี RT-PCR ภายใ 1-3 วัน เมื่อเริ่มแสดงอาการ
การวินิจฉัยการติดเชื้อของทารกในครรภ์ สามารถตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยใช้สิ่ง ส่งตรวจ เช่น น้ำคร่ำ เลือดจากสะดือหรือรก
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
การรักษา
ยังไม่ยารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง
อการให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำในปริมาณ 2,000-3,000 ลิตร ต่อวนั
การให้ยาพาราเซตามอลเพื่อบรรเทา อาการปวด ลดไข้
*ห้ามรับประทานยาแอสไพรินหรือ ยากลุ่มลดการอักเสบ (NSAIDs)
หูดหงอนไก่
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ ไวรัส Human papilloma virus(HPV) ชนิดที่ทำให้เกิดหูดหงอนไก่ ที่อวัยวะเพศ ส่วนใหญ่เป็น type 6 และ 11
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โดยทำ pap smear พบการ เปลี่ยนแปลงที่เซลล์เป็น koilocytosis (halo cell)
การตรวจร่างกาย
สังเกตเห็นรอยโรค ซึ่งเป็นติ่งเนื้อบริเวณ อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก รอบทวารหนัก ปากช่องคลอด
อาการและอาการแสดง
ก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด
คล้ายดอกกระหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็น และคั่น
หูดขึ้นรอบ ๆ ทวารหนัก และในทวารหนัก
การรักษา
:จี้ด้วย trichloroacetic acid จี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
การพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา เช่น จี้ด้วย trichloroacetic acid หรือ laser surgery
2.แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
3.แนะนำส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
4.เน้นการรับประทานอาหารที่มปีระโยชน์
5.การออกกำลังกายที่พอเหมาะ การลดภาวะเครียด และสังเกตการตดิเชื้อซ้ำ
นางสาวพิมลมาศ ศักดิ์ศรี รหัส 602701069 ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 35 วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม
**