Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาหารที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ - Coggle Diagram
อาหารที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ
โรคเบาหวาน
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
-เลือกคาร์โบไฮเดรตชนิดดีกิน เพราะมีสารอาหารที่มีประโยชน์มากมีใยอาหารและมีค่าดัชนีน้ำตาลตํ่า <55 ส่ง ส่งผลต่อการดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดช้า ได้แก่ ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ ข้าวโพดขนมปังโฮลวีท
-เลือกกินชนิดไขมันที่ช่วยลดคอเรสเตอรอลที่ไม่ดี(LDL)โดยไม่ลดคอเรสเตอรอล(HDL) ได้แก่ น้ำมันรำข้าว น้ำมันมะกอก น้ำมันคาโลนา ดังนั้นการกินไขมันต้องคํานึงถึงชนิดและปริมาณต้องกินน้อยๆวันหนึ่งกินไม่เกิน 6 ช้อนชา และหลากหลายชนิด
-กินอาหารที่มีแอนตี้ออกซิเดนซ์ เช่น ผักผลไม้ 5 สี ผักมื้อละ 2 ทัพพี ผลไม้มื้อละ 1 ส่วน
-กินอาหารที่มีจุลินทรีย์สุขภาพ เช่น โยเกิร์ตสูตรไขมันตํ่า นํ้าตาลน้อย
รู้จักเลือก รู้จักลด และงดอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
-ลดและงดคาร์โบไฮเดรตชนิดไม่ดีเพราะมีสารอาหารตํ่า มีค่าดัชนีน้ำตาลสูงและทําให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงอย่างรวดเร็ว เช่น น้ำตาล เครื่องดื่มรสหวาน
ลดและงดไขมันที่ได้จากผลิตภัณฑ์สัตว์ และไขมันทรานซ์ เช่น หมูสามชั้น หนังหมู/ไก่ อาหารที่มีไขมันทรานส์เพราะจะเพิม ่ LDL และลด HDL เช่น มาร์การีน เนยขาว เนยเทียม คุกกี และลดอาหารที่ทอดต่างๆ
ลดอาหารหมักดองและอาหารเค็มจัด
เลือกกินเนื้อสัตว์อย่างฉลาด
กินโปรตีน 0.8กรัม/นน.(กก.)เพื่อรักษามวลกล้าเนื้อ
-กินเนื้อสัตว์ที่มีไขมันตํ่า และมีแคลเซียม เหล็ก สังกะสี เช่น ปลา
-หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่ไขมันสูง เช่น หมูสามชั้น กุนเชียง หนังหมู หมูยอ ไส้กรอก และการปรุงโดยใช้น้ำมันมาก
กินโดยควบคุมปริมาณอาหารจากพลังงานที่ต้องการในแต่ละวัน ระดับการใช้แรงงานของแต่ละบุคคลไม่เท่ากันขึ้นกับแต่ละกิจกกรมการออกแรง/ออกกำลังกาย
พลังงาน = นํ้าหนักตัว * ระดับการใช้แรงงาน
1.เรียนรู้และนับคาร์บกับอาหารแลกเปลี่ยน การนับคาร์โบไฮเดรต หมายถึง การนับปริมาณสารอาหารคาร์โบไฮเดรตในอาหารที่กินเข้าไปทำให้มีผลต่อระดับน้ำตาลในกระแสเลือด กลุ่มอาหารที่ให้สารคาร์โบไฮเดรต
ได้แก่ -กลุ่มข้าว-แป้ง 1 คาร์บ ให้พลังงาน 80 กิโลแคลอรี่ คาร์โบไฮเดตร 18 กรัม โปรตีน 2 กรัม
-หมวดเนื้อสัตว์ต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์ 1 ช้อนกินข้าว = 15 กรัม
โรคตับ ตับอ่อนผิดปกติ
1.อาหารบําบัดโรคตับอักเสบ
พลังงาน ควรได้พลังงานสูงกว่าปกติเพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่น้ำหนักจะลด ควรได้พลังงานวันละประมาณ 2500 – 3500 แคลอรี
โปรตีน เพื่อรักษาเนื้อเยื่อของตับที่ถูกทำลาย ผู็ป่วยควรได้รับโปรตีนวันละ 75 - 100 กรัมและควรเป็นโปรตีนที่ได้จากสัตว์เป็นส่วนใหญ่ แต่ถ้าการทํางานของตับ สมรรถภาพลดลงมาก จนไม่สามารถกําจัดสารแอมโมเนียที่เกิดจากเมตาโบลิซึมของสารโปรตีนได้ก็จําเป็นต้องลดโปรตีนเพราะสารแอมโมเนียและของเสียที่เกิดจากการใช้โปรตีนอาจขัดขวางการทํางานของระบบประสาท
คาร์โบไฮเดรต เป็นสารอาหารที่ให้พลังงาน ผู้ป่วยควรได้รับวันละ 300 – 400 กรัมในระยะแรกควรให้นํ้าตาลเป็ นหลัก
อาจให้ในรูปของขนมหวาน
ไขมัน อาหารไขมันจะจํากัดมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระยะเวลาและความรุนแรงของโรคส่วนใหญ่ก็จะรับประทานได้ปกติ คือ ประมาณร้อยละ 25 - 30 ของพลังงานที่ควรได้ทั้งวัน ยกเว้นถ้าผู้ป่วย คลื่นไส้
2.อาหารบําบัดโรคตับแข็ง แพทย์จะสั่งเพิ่มหรือลดปริมาณ โปรตีนให้เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละคน ระยะแรกของการเป็นตับแข็งที่ยังไม่มีผลทางสมอง แต่ถ้าเป็นตับแข็งที่มีอาการทางสมองร่วมด้วยจะลดให้มาเหลือประมาณวันละ 2-3 ช้อนโต๊ะ หรือ โปรตีนไประยะหนึ่ง เลือกรับประทานอาหารจําพวกคาร์โบไฮเดรตที่มีโปรตีนตํ่า
3.อาหารบําบัดโรคมะเร็งตับ ช่วงแรกของการเกิดโรคควรได้รับโปรตีนเพิ่มขึ้นเป็ น 1.5 กรัมต่อนํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม จากเนื้อปลา ไข่ไก่ บริโภคไขมันแต่น้อย เพื่อป้องกันภาวะแน่นท้อง ท้องอืด เกิดแก๊สในทางเดินอาหาร หากมีอาการบวมนํ้าควรเสริมด้วยไข่ขาว ไม่ควรบริโภคธัญพืช ผักใบเขียวในปริมาณมากเกินไปเพราะจะเกิดอาการแน่นท้องมากขึ้น
โรคเก๊าท์
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
สาเหตุ กรดยูริก เป็นสารชนิดหนึ่งในร่ างกายที่สร้างขึ้นที่ตั ซึ่งเกิดจากการสลายตัวของสารชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า “พิวรีน” สารนี้ในร่างกายได้มาจากแหล่ง คือ
อาหารที่รับประทาน เช่น เครื่องในสัตว์และเนื้อสัตว์ต่างๆ และผักบางชนิด
2.การสลายตัวของเซลล์ในร่างกาย
ส่วนมากกรดยูริกจะขับออกทางไต ส่วนน้อยขับออกทางลำไส้ โดยปกติคนทั่วไปมีกรดยูริก ในเลือดระหว่าง 3-7 มก.ต่อ 100 มล.ซึ่งถ้ามีระดับกรดยูริกในเลือดมากกว่า 7 มล.ต่อเลือด 100 มล.แสดงว่ากรดยูริกในเลือดสูง
การปฏิบัติตัว
ควรดื่มนํ้ามากๆจะช่วยขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะเพื่อป้องกัน
ไม่ให้เกิดนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
ในรายที่อ้วนและมีนํ้าหนักมากต้องลดน้ำหนักตัวลง
งดดื่มเหล้า ไวน์เบีย
หลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพรินและยาขับปัสสาวะเพราะจะทําให้ไตขับกรดยูริกได้น้อยลง
1.ควบคุม หรือจำกัดอาหารประเภทยูริกสูง
ออกกําลังกาย เช่นว่ายนํ้า ขี่จักยาน วิ่งเบา ๆ สม่ำเสมอหลีกเลี่ยงการออกกําลังกายที่มีการกระทบกระเทือนข้อ
ปรึกษาแพทย์ และมาพบแพทย์ตามนัดสมํ่าเสมอ กินยาอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยควบคุมระดับกรดยูริกในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
อาหารพิวรีน
อาหารที่มีปริมาณพิวรีนปานกลาง ผู้ป่วยโรคเก๊าท์ รับประทานได้ปริมาณจำกัดได้แก่ เนื้อวัว ปลากระพง
อาหารที่มีปริมาณพิวรีนน้อย ผู้ป่วยโรคเก๊าท์ทาน ได้ปกติ ได้แก่ นมและผลิตภัณฑ์จากนมไข่ ธัญพืชต่างๆ
1.อาหารที่มีปริมาณพิวรีนมาก ผู้ป่วยโรคเก๊าท์ควร งดเว้นหรือหลีกเลี่ยง ได้แก่ ตับอ่อน หัวใจ ตับกึ๋นของไก่
โรคไต
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคไต
พลังงานผู้ป่วยโรคไตควรได้รับ 25-40 KCal/IBWหรือ 1.1-1.4 เท่าของBEE ข้อควรระวังคือ พลังงานยังขึ้นกับกิจกรรมต่างๆและจากการล้างไตทางหน้าท้องอาจ
ให้พลังงานเพิ่ม 500-1000 KCal/day
ประเภทของอาหารที่ใช้ควบคุมโรคไต
อาหารจํากัดโปรตีน
อาหารเพิ่มโปรตีน
อาหารจํากัดโซเดียม
อาหารเพิ่มโซเดียม
อาหารจํากัดโปตัสเซียม
อาหารจํากัดฟอสเฟต
อาหารที่เพิ่มโปตัสเซียม
โรคหัวใจ เป็นกลุ่มอาการของโรคที่เกิดจากหลอดเลือดตีบตัน หรือหลอดเลือดแข็งตัว ซึ่งเกิดจากการสะสมของไขมัน โปรตีน
อาหารที่ทําให้ระดับไขมันตัวร้ายในเลือดสูง
อาหารที่มีไขมันทรานส์ พบไ ด้ใน อาห ารที่มีการใช้นํ้ามันที่มี การเติมไฮโรเจนลงในน้ำมันที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง
อาหารที่มีคอเลสเตอรอล พบได้ในผลิตภัณฑ์จาก
เนื้อสัตว์เท่านั้น ได้แก่ ไข่แดง เครื่องในสัตว์ สัตว์ปี สัตว์น้ำประเภทที่มีเปลือก
อาหารที่มีกรดไขมันอิ่มตัว พบมากในอาหารและน้ำมันจากพืชบางชนิดได้แก่ ปลิตภัณฑ์จำพวกนม เนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูง ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว นํ้ามันปาล์ม นํ้ามันมะพร้าว
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคหัวใจ
งดน้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม
หลีกเลี่ยงอาหารทอด และผลิตภัณฑ์เบเกอรี่
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง เช่น เครื่องในสัตว์
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทําจากไข่แดง และไขมันอิ่มตัว
1.หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง เช่น ไขมันสัตว์
ใช้นํ้ามันใน การปรุงอาหาร แต่พอควร
หากดื่มนมเป็นประจําควรเลือกดื่มนมประเภทไขมันต่ำ
ลดการกินอาหารเค็ม และอาหารที่มีปริมาณโซเดียมสูง
กินผัก ผลไม้ เป็นประจํา
เพื่อให้ได้รับวิตามินซี และเบต้าแคโรทีน
หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา กาแฟ และงดการสูบบุหรี่
ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย
พักผ ่อนให้เพียงพอ ควบคุมให้เกิดความเครียดทั้งทางอารมณ์และจิตใจ
ควบคุมไขมันในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ ซึ่งควรคํานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
ลดปริมาณไขมันให้น้อยลง วันหนึ่งไม่ควรเกินร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด
ลดปริมาณกรดไขมันชนิดอิ่มตัวลง ควรงดไขมันจากสัตว์ ไข่แดง เนยยม นํ้ามันปาล์ม นํ้ามันมะพร้าว
ควบคุมระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือดให้ตํ่ากว่า 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
เพิ่มกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว ควรเป็ฯไขมันจากน้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันมะพร้าว
1.ควบคุมระดับโคเลสเตอรอลในเลือดให้น้อยกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
โรคความดันโลหิตสูง ผู้ที่มี
ภาวะความดันโลหิตสูงจะมีแรงดันโลหิตสูงตลอเวลา ดังนั้นผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงจึง หมายถึงผู้ที่มีความดันเลือดเท่ากับหรือสูงกว่า 140/90มิลลิเมตรปรอท
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ควบคุมนํ้าหนัก พบว่า คนที่นํ้าหนักเกินปกติเกินปกติ จะมีโอกาสเป็นโรค ความดันโลหิตสูงมากกว่าคนที่มีนํ้าหนักปกติถึง 50 % สูง
ลดการบริโภคโซเดียม
2.1 ลดความเค็มในอาหาร
2.2 หลีกเลี่ยงอาหารสําเร็จรูป
2.3 ลดความถี่และปริมาณการกินอาหารที่มีนํ้าจิ้ม
2.4 หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่ สารกันเสีย ที่มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ
2.5 ปรุงอาหารด้วยเครื่องเทศ หรือสมุนไพร
2.6 งดหรือลดอาหารที่มีไขมันมาก
2.7 งดบุหรี่ และเครื่องแอลกอฮอล์
2.8 ควรออกกําลังกายอย่างสมํ่าเสมอ ให้เหมาะสมกับวัย
โรคระบบทางเดินอาหาร
โรคกระเพาะอาหาร
สาเหตุ
มีอุปนิสัยการรับประทานที่ไม่ถูกต้อง เช่น การรับประทานอาหารอย่างเร่งรีบ รับประทานไม่เป็ นเวลา หรืออดอาหารบางมื้อ
การติดเชื้อแบคทีเรียเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร เป็ นเชื้อที่ติดต่อโดยการรับประทานอาหารหรือดื่มนํ้าที่ปนเปื่อนเชื้อจากอุจจาระของผู้ติดเชื้อนี
การสูบบุหรี่ เพิมโอกาสเสี่ยงของการเป็ นที่แผลที่ลําไว้เล็กส่วนต้น
อื่นๆ เช่น ซึมเศร้า วิตกกังวล คิดมาก นอนไม่หลับ เครียด อารมณ์หงุดหงิด
รับประทานอาหารที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะและลําไส้ เช่น ดื่มชากาแฟหรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
ข้อควรปฏิบัติสําหรับผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหาร
อาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อไม่ควรมีปริมาณมากเกินไป
หลีกเลี่ยงสิ่งระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร เช่น ยาชุด ยาแก้ปวดข้อ
งดสูบบุหรี่
ถ้าเครียดพยายามลดความเครียด เช่น ดูหนัง ฟังเพลง
รับประทานอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย และควรเคี้ยวอาหารให้ละเอียด
หมั่นออกกําลังกาย
รับประทานอาหารให้ตรงเวลา
รับประทานยาลดกรด ยาน้ำ 1-2 ช้อนโต๊ะ หรือยาเม็ด 1-2เม็ด วันละ 4 ครั้งเช้า กลางวัน เย็นหลังอาหาร 1 ชัวโมง และก่อนนอน
รับประทานยาสมํ่าเสมอถามที่แพทย์สั่ง
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหาร
2.อาหารมีรสอ่อน อาจใส่เครื่องปรุ่งต่างๆ ได้ที่ไม่ทําให้อาการของ โรคกําเริบขึ้น
3.ช่วยให้ความเป็ นกรดในกระเพาะลดลง อาหารจําพวกโปรตีน เช่น ไข่ นม
1.อ่อนนุ่ม ไม่มีกากาหรือใย ไม่มีเม็ด และเปื่อยนุ่ม
4.เป็ นอาหารที่อยู่ในกระเพาะได้นานพอสมควร เพื่อทําให้ฤทธิ์ของกรด ในกระเพาะอาหารลดลง
อาหารไม่เหมาะกับผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหาร
-เครื่องเทศต่าง ๆ
เครื่องดื่ม เครื่องจำพวก ชา กาแฟ
-ผัก ผลไม้ดิบ
-ผักที่มีก๊าซมาก
-ผลไม้ที่มีก๊าซมาก
โรคถุงนํ้าดีอักเสบ อาจเกิดจากมีนิ่วในถุงนํ้าดี หรืออาจเกิดขึ้นจากเนื้องอก การอดอาหารมากๆ หรือยาเสพติด
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคถุงนํ้าดีอักเสบ ระยะที่ยังไม่มีการผ่าตัด ควรให้สารอาหารที่มีไขมันน้อยและไม่ควรเกินร้อยละ 25 ของพลังงานทั้งหมด และผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงอาหารไขมันมาก เช่น อาหารทอดอาหารที่ทําให้เกิดก๊าซ อาหารที่มีรสจัดมีเครื่องเทศมาก เพราะอาหารดังกล่าวจะกระตุ้น
อาหารที่ไม่เหมาะกับผู้ป่วยโรคถุงนํ้าดีอักเสบ
อาหารที่มีก๊าซมาก เช่น กระถิน ชะอม ผักกระเฉด ดอกกะหลํ่า ถั่วสดกะหลํ่าปลี
ผลไม้ที่มีก๊าซมาก เช่น ทุเรียน ขนุน พุทรา น้อยหน่า มังคุด แตงโม มะม่วงดิบ
อาหารที่มีไขมันมาก เช่น อาหารทอด แกงกะทิ ขนมใส่กะทิเนื้อสามชั้น หนังไก่
โรคเอดส์
ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยโรคเอดส์ การได้รับสารอาหารครบถ้วนเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย มีความสัมพันธ์โดยตรงต่อผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ HIV สาเหตุที่ทําให้นํ้าหนักตัวลดได้แก่ อาการเบื่ออาหาร การมีแผลในปากหรือลําคอ อาการท้องเสีย
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเอดส์ ได้แก่ กลุ่มแป้ง ผักและผลไม้ เนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว ผลิตภัณฑ์จากนม ไขมัน
สุขลักษณะอนามัยด้านอาหารของผู้ป่วยโรคเอดส์
เก็บแยกอาหารที่ยังไม่ได้ทําให้สุกกับอาหารที่สุกแล้วออกจากกันเป็นสัดส่วนเพื่อกันการปนเปื้อนเชื้อจากอาหารดิบไปสู่อาหารสุก
ผู้ป่ วยที่มีระดับ CD4 ตํ่ากว่า 200 cell/mm3 ควรดื่มนํ้าที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว หรือหากไม่สามารถหาได้อาจใช้นํ้าที่ผ่านการต้มให้เดือดฆ่าเชื้ออย่างน้อย 5-10 นาทีแล้ว และเก็บในภาชนะปิ ดสนิท
ล้างผักและผลไม้ให้สะอาดก่อนรับประทาน
อาหารที่ปรุงเสร็จแล้วหากจะเก็บในตู้เย็นเพื่อรับประทานต่อไปก็ไม่ควรจะเก็บเกิน 2 วัน หากจะเก็บไว้รับประทานนานกว่า2 วันควรแบ่งส่วนเก็บไว้ในช่องแช่แข็ง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีราขึ้นแม้เพียงเล็กน้อย รวมถึงอาหารที่เลยวันหมดอายุแล้ว
ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนทานอาหาร
โรคมะเร็ง
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคมะเร็ง การให้อาหารแก่ผู้ป่ วยที่ไม่สามารถกินอาหารได้ตามปกติ แม้ว่าการกินอาหารทางปากตามปกติจะ เป็นสิ่งที่เหมาะสมและควรทํามากที่สุดแต่ในผู้ป่ วยบางท่านไม่ สามารถรับอาหารได้อย่างเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจากการของโรคมะเร็งหรือผลจากการรักษา
ปัญหาการกิน
ไข่ กินได้ทั้งไข่แดง ไข่ขาว วันละ 1-2 ฟอง
นม เลือกนมวัวไขมันตํ่า
กินอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์
ได้แก่ ปลา ไก่ หมู ไข่ นม เต้าหู้ ถัว่
สามารถปรุงรสด้วยมะนาวหรือผักสมุนไพรจะช่วยชูรสชาติให้ดีขึ้นได้
กินครั้งละน้อย แต่บ่อยขึ้น เป็น 5-6 มื้อ
กินอาหารแช่เย็น เช่น ไอศครีม หรืออมนํ้าแข็ง จะช่วยบรรเทาให้อาการเจ็บแสบลดลง หรื อดื่มนํ้า เพิ่มขึ้น ก็ช่วยได้เหมือนกัน
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง อาหารเผ็ด อาหารที่เพิ่งปรุงรสเสร็จกําลังร้อนจัด อาหารหรือผลไม้รสเปรี้ยวจัดอาหารที่มีลักษณะแข็งที่จะทําให้เจ็บเวลาเคี้ยว
ผู้ป่วยหลังผ่าตัด
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
โปรตีน ผู้ป่วยควรได้รับโปรตีนอย่างน้อยวันละ 1.5 กรัมต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม
พลังงาน ผู้ป่วยจึงควรได้รับพลังงานประมาณวันละ 2500 – 3000แคลอรี
วิตามินและเกลือแร่
นํ้า ผู้ป่วยหลังจากผ่าตัดควร ได้รับนํ้าประมาณวันละ 2000 – 3000 มิลลิลิตร
อาหารที่ไม่เหมาะกับผู้ป่วยหลังผ่าตัด หลีกเลี่ยงอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ และอาหารประเภทหมักดอง
ไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก
พลังงาน ผู้ป่วยจําเป็ นต้องได้รับพลังงานให้เพียงพอประมาณ 50 – 70แคลอรี่ต่อนํ้าหนักตัว 1กิโลกรัม
โปรตีน เนื่องจากผู้ป่วยมีการสูญเสียโปรตีนไปมาก ผู้ป่วยควรได้โปรตีนวันละ 2-3 กรัม 1 กิโลกรัม
วิตามิน เกลือแร่ ผู้ป่วยถูกความร้อนลวกและสูญเสียวิตามิน
นํ้า ในระยะ 2-3 วันแรกผู้ป่วยจะสูญเสียนํ้าไปมาก ทําให้ปริมาณเลือด มีผลให้เลือดไปเลี้ยงอัวยวะต่างๆได้น้อย
โรคขาดสารอาหาร
โรคขาดโปรตีนและแคลอรี เป็ นโรคที่พบบ่อยในเด็กที่อายุตํ่ากว่า ๖ ปี ลักษณะอาการของโรคที่เห็น แตกต่างกันชัดเจน มี ๒ รูปแบบ คือ ควาชิออร์กอร์(kwashiorkor) และมาราสมัส (marasmus)
อาการและอาการแสดงทงคลินิก -หงุดหงิดง่ายน้าหนักลด ผอมแห้ง ในผู้ป่ วย marasmus
-เล็บงอเป็นรูปช้อนในผู้ป่วยที่ขาดธาตุเหล็ก -เกล็ดกระดี่บริเวณหางตา (Bitot’s spots) ในผู้ป่วยที่ขาดวิตามินเอ