Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์, นางสาวพิมลมาศ ศักดิ์ศรี …
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
Hepatitis B
สาเหตุ
การเพิ่มสูงขึ้นของระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลและเอสโตรเจนซึ่งทั้ง 2 ฮอร์โมนนี้มีผลทำให้ปริมาณไวรัสใน กระแสเลือดผู้ป่วยสูงขึ้นทารกที่เกิดจากมารดาที่เป็นพาหะของโรคและตรวจพบ เชื้อไวรัสตับอักเสบ บี (HbsAg positive)
การวินิจฉัย
HBsAg และ หากได้ผลเป็นบวกแล้วจึง ดำเนินการประเมินความรุนแรงของโรคตับ
*HBeAg+HBsAgมีโอกาสแพร่สู่ลูก 90 %
HBsAg
: บอกถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
HBeAg
: บอกถึง ความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัสตับอักเสบบี (Viral replication)
Anti HBc
: เป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการตอบสนองของร่างกายต่อไวรัสตับอักเสบบี บอกถึงการ เคยติดเชื้อไวรัสบี
Anti HBc-IgM
: พบในตับอักเสบเฉียบพลัน
Anti HBe
: จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBeAg ในเลือดแล้ว
Anti HBs
: จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBsAg ในเลือดแล้ว หรือ เป็นภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบบี
Anti HBc-IgG
: พบได้ทั้งในตับอักเสบเฉียบพลัน, เรื้อรัง หรือแม้แต่ผู้ที่ตรวจไม่พบเชื้อแล้ว
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัวของโรคตับอักเสบบี ประมาณ 60-150 วัน
มีไข้ อ่อนเพลยี เบื่ออาหาร คลื่นใส้ อาเจยีน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ ในรายที่มีอาการรุนแรง มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
ผลกระทบ
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
การตกเลือดก่อนคลอด
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
แนวทางการรรักษา
หลังคลอด
ติดตามตรวจดูระดับ ALT
ทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก universal precaution
Exclusive breastfeeding หากไม่มีรอยแผล
HBIG (400IU) ทันทีหรือภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด
ควรได้รับวัคซีน ภายใน 7วนั และให้ซ้ำภายใ 1 เดือนและ 6เดือน
ก่อนการคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติการเจาะน้ำคร่ำ
หากปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า 200,000IU/mL TDF 300 mg. วนัละ 1 ครั้ง GA 28-32สัปดาห์ ระยะหลังคลอด : TDF 300 mg. วนัละ 1 ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
ระยะคลอด
Universal Precaution
ติดตามความก้าวหน้า ไม่กระตุ้นคลอด
ทารก : Suction ให้เร็วหมด ทำความสะอาด
ระยะหลังคลอด
BF
คุมกำเนิด ตรวจสุขภาพประจปำ
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะตั้งครรภ์
Hx.ประวัติ การได้รับวัคซีน บุคคลในครอบครัว
อาการ : ไข้ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นใส้อาเจียน ตัวตา เหลือง
ส่งตรวจเลือด
ป้องกันการแพร่กระจาย
หัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำๆ
Koplik's spot จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงา อยู่ที่กระพุ้งแก้ม
ระยะออกผื่น
ผื่นแดงเล็กๆ (erythematous maculopapular)
ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลง มาตามผิวหนังส่วนอื่นหายไปภายใน 3 วัน
การวินิจฉัย
การซักประวัตักาสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามีผีื่นขึ้นหรือไม่
2.ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ELISA
IgM และ IgG specific antibody ทันทีที่มีผีื่นขึ้นหรือ ภายใน 7-10 วันหลังผื่นขึ้น
ควรติดตามการเพิ่มขึ้นของระดับไตเตอร์เป็น 4 เท่าใน 2 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
Congenital Rubella Syndrome
: หูหนวก หัวใจพิการ ต้อกระจก
การรักษา
ในระยะ
3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนำให้ยุติ การตั้งครรภ์ “Therapeutic abortion”
รายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แพทย์อาจ พิจารณาฉีด Immunoglobulin
แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง
นางสาวพิมลมาศ ศักดิ์ศรี รหัส 602701069 ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 35 วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม
**