Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
*5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับ การตั้งครรภ์, นางสาวพิมลมาศ ศักดิ์ศรี …
*5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับ
การตั้งครรภ์
Genital herpes simplex infection
สาเหตุ
การติดเชื้อ Herpes simplex virus (HSV)
ชนิด
HSV type 1
Orolabial herpes infection
HSV type 2
anogenital herpes infection
อาการและอาการแสดง
Vesicles ที่ผวิหนังของอวัยวะเพศ
อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมื่อยตัว
ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลีย
ภาวะแทรกซ้อน
ตาอักเสบ
ไข้-หนาวสั่น
ตับ-ม้ามโต
ซึม
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย
สังเกตเห็นตุ่มน้ำใสแตกจะเป็นแผลอักเสบ มีอาการปวดแสบปวด ร้อนมาก ขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็ง ลักษณะตกขาว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ (culture)
โดยใช้ของเหลวที่ได้จากตุ่มใสที่แตกออกมา หรือการขูดเอา จากก้นแผล จะพบ multinucleated giant cell
เซลล์วิทยา (cytology)
โดยวิธิ Tzanck smear ขูดเนื้อเยื่อบริเวณก้นแผล แล้วย้อมสี Wright หรือ Giemsa เพื่อดู multinucleated giant cells
การรักษา
ควรให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ แผลไม่สะอาด Genital herpes simplex infection : การรักษา
การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
กรณีที่มี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพื่อหลีกเลี่ยง ไม่ให้ทารกได้รับเชื้อจากการสัมผัสสิ่งคัดหลั่งในช่องคลอด
การพยาบาล
ระยะคลอด
: เน้นการใช้หลัก Universal precaution และหลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ระยะหลังคลอด
: สามารถให้นมได้ตามปกต ิล้างมือก่อน และหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
แนะนำการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
ล้างแผลด้วยนา ้เกลือ 0.9% หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25-1% วนัละ 2-3 ครั้ง แนะนำเกี่ยวกับการนั่งแช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
HIV
การตรวจพบปฏิกิริยาทางน้ำเหลืองต่อเชื้อ HIV (Human immunodeficiency Virus) เป็นบวก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย มีไข้ ต่อมนา ้เหลืองโต น้ำหนักลด เป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคดักรองโรคเอดส์คือการทดสอบที่เรียกว่า Enzyme linked Immunosorbent assay (ELISA)
การตรวจยืนยันด้วยการตรวจ confirmatory test เช่น Western Blot (WB) และ Immunofluorescent assay (IFA)ถ้าให้ผลบวกเป็นการแน่นอนว่าผู้ป่วยติดเชื้อ เอดส์
อาการและอาการแสดง
กลุ่มที่ 2
เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
กลุ่มที่ 3
เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ คือ มีไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำๆ นาน กว่า 2-3 เดือนปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนักลด อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดไร้เชื้อร่วมด้วย
กลุ่มที่ 1
เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิก มีเพียงการตรวจ Elisa ให้ผลบวก
การรักษา
ระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
1.ให้เพิ่ม AZT 300 mg ทุก 3 ชม. หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียว ไม่ว่าจะใช้ยาสูตรใด
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่ม ผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม.
ในรายที่ viral load น้อยกว่า 50 copies / ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หลกีเลี่ยงการให้ยา Methergine เนื่องจากจะ ทำให้เกิด severe vasoconstriction ได้
โรคเอดส์ในหญิงตั้งครรภ์
หลังคลอด
1.ให้ยาหลังคลอดต่อทุกราย -CD4 < 500 cells / mm 3
2.การให้ยาต้านไวรัสในทารกแรกเกิด
การพยาบาล
ระยะคลอด
จัดให้ผู้คลอดอยู่ในห้องแยกป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่วทำคลอดโดยยึดหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
1.จัดให้อยู่ในห้องแยก
2.แนะน าการปฏิบัติตัวเมื่อกลบับ้านเพื่อป้องกนัการแพร่กระจายเชื้อ
3.งดให้นมบุตร เพราะทารกอาจติดเชื้อจากแม่ทางน้ำนมได้
4.ทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันที และให้ AZT 2 มก./ กก./วนั และตดิตามการตดิเชื้อในทารกหลังคลอด 12-18 เดือน
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจหาระดับCD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร อาจพิจารณาให้ prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา (แนวทางการให้ยา)
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
นางสาวพิมลมาศ ศักดิ์ศรี รหัส 602701069 ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 35 วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม