Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพและ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพและ
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
จุดประสงค์การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
1.การคุ้มครองผู้รับบริการหรือผู้บริโภค
2.การสงวนวิชาชีพให้กับบุคลากรในวิชาชีพ
3.การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพให้บริการอย่างมีมาตรฐาน
มาตรการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
1.ห้ามผู้ไม่มีสิทธิคือไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
2.ให้มีข้อกำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
3.มีมาตรการลงโทษ ในกรณีทีละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ
ข้อยกเว้น
1.การกระทำต่อตนเอง
2.การช่วยเหลือดูแลบุคคลอื่นให้พ้นจากความทุกข์ทรมาน
3.นักเรียน นักศึกษา ในสถาบันที่สภาฯรับรอง ภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
4.ผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ทำตามเกณฑ์การประกอบวิชาชีพตนแต่เข้าข่ายการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
5.ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯในประเทศของตน สภาจะออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ไม่เกิน
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
หมวดที่ 1 หลักทั่วไป
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
1.ผู้เสียหาย กล่าวหา ต่อสภาการพยาบาล
2.กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
3.อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
4.สภาฯส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสินว่าคดีมีมูล
5.สภาฯส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา สอบสวน
6.คณะกรรมการสภาตัดสิน
อำนาจหน้าที่ของอนุกรรมการจริยธรรมและอนุกรรมการสอบสวน
อนุกรรมการจริยธรรม มีหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
นำหลักฐานพร้อมความคิดเห็นส่งให้คณะกรรมการสภาตัดสิน
การพิจารณาสอบสวนโดยบุคคลต่อไปนี้
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
ผู้รู้เห็นเหตุการณ์
คู่สมรส หรือเป็นญาติเกี่ยวข้องกับบุพการี
พี่น้องร่วมบิดามารดากับผู้ถูกกล่าวหา กล่าวโทษ
การคัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการสอบสวน
การเพิกถอนใบอนุญาตต้องส่งคืนใบอนุญาตภายใน 15 วัน ต่อเลขาธิการสภา
ไม่มีสิทธิแต่งตั้งทนายความขึ้นต่อสู้ทางคดีได้
ต้องยื่นต่อคณะกรรมการภายใน 7 วันนับตั้งแต่วันทราบคำสั่งของคณะอนุกรรมการสอบสวน
จะต้องดำเนินคดีไปจนเสร็จสิ้นการยอมความไม่มีผลต่อการพิจารณาคดีของสภาการพยาบาล
รับทราบคำสั่งลงโทษ ถ้าเป็นการพักใช้ต้องหยุดประกอบวิชาชีพทันที
มาตรา43
บุคคลเพิกถอนต้องหยุดประกอบ วิชาชีพ
หากผู้อื่นเข้าใจว่ามีสิทธิประกอบวิชา ชีพถือป็นการละเมิด
การขอทะเบียนใหม่หลังถูกเพิกถอน ใบอนุญาต
ต้องพ้น2ปี คำสั่งเพิกถอนใบ อนุญาต
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่1 สามารถยื่นขอ ครั้งที่2 หลังครบ1ปี
อายุความ กล่าวโทษกำหนด3ปี และมีกำหนด1ปี นับแต่วันรู้ตัวผู้ กระทำ
ประเด็นที่1
เกิดเหตุและรู้ตัวผู้กระทำ 1ม.ค.41 อายุความจะมีอยู่ถึง31ธ.ค.42
ประเด็นที่2
เกิดเหตุและรู้ตัวผู้กระทำ 1ม.ค.41 รู้ตัว10 ม.ค.41อายุความจะมีอยู่ ถึง9ม.ค.42
ประเด็นที่3
เกิดเหตุ 1ม.ค.41 รู้ตัวผู้ กระทำ1พ.ย.43อายุความจะมีอยู่ ถึง31ธ.ค.43
พนักงานเจ้าหน้าที่
ต้องแสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง
สถานที่ที่กฎหมายกำหนด
1.สถานที่ประกอบการที่มีผู้ประกอบวิชาชีพ การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและผดุงครรภ์ปฏิบัติงานอยู่
2.สถานที่มีเหตุผลสมควรเชื่อว่ามีการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
3.สถานที่สอบสวนหรือเชื่อว่าทำการสอนวิชาการพยาบาล
บทกำหนดโทษ
โทษทางอาญา
1.ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน
2.บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ(พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ ได้จากการตาย ลาออก)
3.ต้องพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้วยและต้องส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายใน 15 วัน ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 1000 บาท
4.การไม่มาให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสาร ต้องโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
5.ผู้ไม่อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับโทษทางวิชาชีพ ประกอบด้วย ว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้ เพิกถอน
บทเฉพาะกาลเพิ่มเติม(พระราชบัญญัติวิชาชีพพ.ศ.2540)
1.ให้กรรมการทุกประเภทตามพระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2528 ดำรงอยู่จนครบวาระ
2.ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์พ.ศ.2528มีอายุต่อไปอีก 5 ปี นับแต่วันที่กฎหมายบังคับใช้
3.ผู้ที่ไม่เข้าเกณฑ์ตามข้อ 2 แต่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 ปีเมื่อสภาการพยาบาลตรวจสอบหลักสูตรและผ่านการสอบความรู้แล้วมีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
4.ยกเลิกค่าธรรมเนียมเก่าและใช้อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน
5.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการณ์ตามพระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์(ฉบับที่2)พ.ศ.2540
1.อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในระบบวิชาชีพ ที่ยาวนานพอสมควร ถึงขั้นอุดมศึกษา
3.สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
5.มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
6.มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพเพื่อ
คุ้มครองสมาชิกและผู้รับบริการ
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
ความสำคัญของกฎหมายวิชาชีพ
1.อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน
3.สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
5.มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
6.มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ
นิยามศัพท์ที่สำคัญ
การพยาบาล
เป็นการกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อ
เจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ
การผดุงครรภ์
การกระทำเกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือหญิงมีครรภ์ หญิง
หลังคลิด และทารกแรกเกิด รวมถึงการตรวจ การทำคลอด
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การปฏิบัติหน้าที่ พยาบาลต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล
3.การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์(ต่อ)
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิด เพื่อป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
3.การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
5.ทั้งนี้โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์ และศิลปะการผดุงครรภ์ในการประเมินสภาพ
พนักงานเจ้าหน้าที่
1.ให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบใบอนุญาต ค้นหรือยึดหลักฐานการกระทำที่ผิดกฎหมายในสถานที่นั้นได้
2.ในการเข้าตรวจค้น พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัว
พนักงานเจ้าหน้าที่ให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันการแอบอ้าง
3.ในการตรวจค้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจตามประมวลกฎหมายอาญา โดยให้ผู้ที่ไม่ให้ความสะดวกมีความผิด ได้รับโทษตามที่กำหนด
กำหนดให้มีสภาการพยาบาล ฐานะของสภาการพยาบาล(มาตรา6)
1.เป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2.การตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ(พ.ร.บ.) ทำให้ไม่สามารถถูกฟ้องล้มละลาย
นิติบุคคลตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
1.เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย มีสภาพเหมือนบุคคลทั่วไป ยกเว้น สิทธิที่บุคคลจริงจะมีได้ เช่น การจดทะเบียนสมรส
2.นิติบุคคลทำความผิด ผู้แทนของนิติบุคคลร่วมรับผิดในฐานะตัวการ
วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล (มาตรา7)
1.งบประมาณแผ่นดิน
2.ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ
3.จากการหารายได้ของสภาการพยาบาล
4.รายได้จากเงินบริจาค รวมทั้งดอกผลของรายได้ต่างๆ
ตราสภาการพยาบาล
มีตะเกียงตั้งอยู่บน
ฐานของดอกบัว มีคำว่าสภาการพยาบาลเหนือตะเกียงในวงกลม
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย(หมวด2มาตรา11-13)
1.สมาชิกสามัญ
2.สมาชิกกิตติมศักดิ์
โรคต้องห้ามตามข้อบังคับของสภาการพยาบาล
1.โรคจิต โรคประสาท
2.การติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง
3.โรคในระยะปรากฏอาการเป็นที่น่ารังเกียจต่อสังคมเช่น โรคคุดทะราด โรคเอดส์ กามโรค
การพ้นจากสภาพสมาชิกสามัญ(มาตรา13)
1.ตาย
2.ลาออก
3.ขาดคุณสมบัติตามมาตรา
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
1.สำเร็จในประเทศ คนสัญชาติไทยและมิใช่สัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
2.สำเร็จในต่างประเทศ
คนสัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตาที่กำหนด
ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
คนมิใช่สัญชาติไทย
ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สอบขึ้นทะเบียน
มาตรา 18 คุณสมบัติของกรรมการสภาฯ
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
2.ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
3.ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
หน้าที่กรรมการบริหารสภาการพยาบาล
นายกสภาฯ
1.ดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล
2.เป็นผู้แทนสภาในกิจการต่างๆ
3.เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเลขาธิการสภา
เลขาธิการสภา
1.ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไป
2.ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภาฯ
3.รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนต่างๆ
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการสภาฯ
1.การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
1.2เรื่องสำคัญ ที่ใช้กรรมการเต็มคณะมี 2 กรณี
ก.การให้สมาชิกพ้นจากสมาชิกภาพ เพราะขาดคุณสมบัติตามมาตรา11(1)เป็นผู้ประพฤติเสียหาย การต้องโทษจำคุก และการเป็นผู้มีจิตฟั่นเฟือน เป็นโรคที่สังคมรังเกียจ
ข.การพิจารณาทบทวนการลงมติ ในเรื่องที่สภานายกพิเศษยับยั้งมติของสภาการพยาบาล
2.การลงมติ กรรมการ 1 คน มี 1 เสียง
3.การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
4.การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการที่ปรึกษา
สภาการพยาบาล ฐานะของสภาการ พยาบาล มาตราที่6
ป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์
เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย
นิติบุคคลทำความผิด ผู้แทน นิติบุคคลร่วมรับผิดฐานะตัวกลาง
กฎหมายพ.ร.บ. ไม่สามารถฟ้องล้ม ละลาย