Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิ…
บทที่3การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Biophysical
BPP
การแปลผลตรวจ
8-10ปกติ
4-6 ผิดปกติ ติดตามใกล้ชิด
0-2 ผิดปกติ ควรยุติการตั้ง
GA 28-30wks.
ข้อบ่งชี้
GDM,HT
คลอดก่อนกำหนด
ทารกโตช้า
ครรภ์เกินกำหนด
Ultrasound
GA 7-10 wks.
X-ray
GA 20 up
Spalding sign = การซ้อนกันของกระดูกศีรษะทารก พบตอนทารกเสียชีวิต 1 wks.,GA 6-8 month
Deuel's sign = การคั่งของของเหลวในชั้นไขมันของศีรษะ พบตอนทารดเสียชีวิต 3 วัน
FMC(fetalmovement count)
pearson
GA =32wks
<10ครั้ง in 12 hr =decrease of FM
Daily(DFMR)
<10ครั้ง in 12 hr 2วันติด = อันตราย
นิยม
Liston
GA = 28 wks
<10ครั้ง in 12 hr =decrease of FM
EFM(Eletronic Fetal Mornitoring )
NST (Non-stress Test)
Reactive
FHR>=15bpm,>=15 s
นาน10วิ ,10 pbm<=FHR= GA < 32
2ครั้ง ใน 20 วิ / 2 loop
CST (Contraction Stress Test )
Positive
Early
1 more item...
variable
1 more item...
Late
1 more item...
Negative
บทบาทการพยาบาล
5.บันทึกFHRไปเรื่อยๆตลอดการทดสอบ
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์กด maker เพื่อบันทึกเมื่อรู้สึกว่าเด็กดิ้น
4.ดูแลให้ tocodynamometerของexternal monitor
7.ขณะตรวจควรสังเกตอาการและอาการแสดงของ Supine hypotension
3.วัดความดัน
8.เมื่อตรวจเสร็จควรเช็ดเจลออกจากหน้าท้องและดูแลหญิงตั้งครรภ์ให้ลุกช้าๆ
2.จัดท่านอนในลักษณะ Semi-fowler หรือนอนตะแคง
9.ถ้าผลReactive ให้ตรวจติดตามสุขภาพทารกตามความเสี่ยงเดิม ถ้าผล non reactive ให้ตรวจยืนยันด้วยวิธีอื่น
1.อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงขั้นตอนและวิธีการตรวจ
Biochemical
FBS(fetal blood sampling)
ตรวจเลือดจากสายสะดือ
GA>18wks.
ข้อบ่งชี้
ประเมินทารก
วินิจฉัยโรคก่อนคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
เสียเลือดมาก
ภาวะหัวใจทารกเต้นช้า
คลอดก่อนกำหนด
ติดเชื้อ
Aminocentesis
ตรวจเพื่อ
ตรวจหาความสมบูรณ์ของปอด
Shake test
5 หลอด
มีฟอง 3หลอดแรก = ปอดสมบูรณ์
มี1หลอด/ไม่พบ = ปอดยังเจริญไม่สมบูรณ์=ต้องตรวจRatioเพิ่ม
มีฟอง2หลอดแรก = Intermediate= ปอดเจริญไม่เต็มที่
2 หลอด
เกิดฟองทั้ง 2 หลอดนาน15นาที = ปอดมีความสมบูรณ์
เกิดฟอง 1 หลอด = ปอดยังไม่สมบูรณ์
L/S ratio
ค่าปกติ
GA<26wks = S>L
GA 34-36wks. = L:S = 2:1
GA 26-34wks. = L:S = 1:1
หา alphafetoprotein (AFP),Acetylcholinesterase
Thalassemia
Down's syndrome
ทารกโตช้าในครรภื
มารดา 35ปีขึ้นไป
เคยคลอดบุตรโครโมโซมผิดปกติ
บิดา/มารดาโครโมโซมผิดปกติชนิดBalance translocation
Hx.แท้งเป็นอาจิณ
ทารกพิการจากคลื่นความถี่สูง
ผลเลือดมารดาผิดปกติ
CVS (Chorionic Villi Sampling)
GA 8-11wks
เก็บเนื้อเยื่อรกส่งตรวจ
ข้อบ่งชี้
ดู Hbก่อนคลอด
Thalassemia
มารดาอายุมาก
Estriol
ข้อบ่งชี้
Hypertension
GAเกินกำหนด
GDM
ประวัติสูติกรรมไม่ดี
การแปลผล
<=50% ทารกอยู่ในอันตราย
<=40mg in 24 hr. = ทารกอาจตายในครรภ์ =>ส่งทำNST,CST
ตรวจในplasma
สูง = GDM,ครรภ์แฝด
ต่ำ=ต่อมหมวกไตฝ่อ
Alpha-fetoprotein(MSAFP)
ตรวจความผิดปกติของรก,เนื้อเยื่อเกี่ยวรก
GA 16-18wks.