Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
โรคซิลิโคสิส
ปัจจัย
มีผู้ที่ปฏิบัติงานที่สัมผัสนหิน หรือฝุ่นที่มีซิลิกาเป็นองค์ประกอบจำนวนมาก
การควบคุมป้องกัน ยังไม่ดีเพียงพอ
สถานการณ์โรค
ปี 2558
พบว่ามีผู้ที่ได้รับ
การวินิจฉัยและรักษาโรคปอดฝุ่นหิน มีจำนวน 234คนเสียชีวิตจำนวน 30คน
แนวทางการแก้ไข
การให้ความรู้ในการทำงาน
การใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ถูกต้อง
มีข้อความและสัญลักษณ์เตือน เพื่อสื่อสารให้ผู้ปฏิบัติงาน
มีการประเมินความเสี่ยงและจัดทำรายงานโรคจากการประกอบอาชีพ
การตรวจคักรอง เพื่อเฝ้าระวังโรคปอดฝุ่นหิน ซึ่งได้แก่
การตรวจสมรรถภาพปอด การเอกซเรย์ปอด
การดูแลผู้ที่ป่วยเป็นโรคปอดฝุ่นหิน ซึ่งต้องดำเนินการรักษา
ตามอาการ ตลอดจนถึงการรับเงินค่าทดแทน
โรคที่เกิดจากแอสเบสตอส
สถานการณ์โรค
ในปี พ.ศ. 2554 มีผู้ป่วยนอกโรคแอสเบสโตสิสทั้งหมด จ านวน 19 ราย โดยพบจ านวนผู้ป่วยสูงสุดใน
จังหวัดศรีสะเกษ จ านวน 5 ราย รองลงมาได้แก่ จังหวัดเลย จ านวน 3 ราย
ในปี พ.ศ. 2555 มีผู้ป่วยนอกโรคแอสเบสโตสิสทั้งหมด จ านวน 42 ราย โดยพบจ านวนผู้ป่วยสูงสุดใน
จังหวัดสงขลา จ านวน 5 ราย รองลงมา ได้แก่ จังหวัดล าพูน และเชียงราย จังหวัดละ 4 ราย
ในปี พ.ศ. 2553 มีผู้ป่วยนอกโรคแอสเบสโตสิสทั้งหมด จ านวน 9 ราย โดยพบจ านวนผู้ป่วยสูงสุดในจังหวัดนครศรีธรรมราช จ านวน 3 ราย รองลงมา ได้แก่ จังหวัดมหาสารคาม จ านวน 2 ราย และจังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี อุดรธานี และแม่ฮ่องสอน จังหวัดละ 1 ราย
ปัจจัย
ปริมาณแร่ใยหินที่เข้าสู่ปอด
ความคงทนของเส้นใยเมื่ออยู่ในปอด
ขนาดของเส้นใย
เส้นใยที่มีความยาวมากกว่า 5 ไมครอน และเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 3 ไมครอน และมีความทนทาน จะมีอันตรายต่อสุขภาพ เนื่องจากเส้นใยจะสะสมและคงอยู่ในเนื้อเยื่อปอด
เส้นใยที่มีความยาวกว่า 200 ไมครอน และเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 3 ไมครอนจะไม่ไม่สามารถเข้าสู่ถุงลมปอดได้มักจะสะสมอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน และถูกกำจัดออกจากร่างกายโดยขับออกมากับเมือกเป็นเสมหะ
เส้นใยที่มีความยาวน้อยกว่า 5 ไมครอน และเส้นผ่านศูนย์กลางต่ำกว่า 2 ไมครอน จะถูกกลไกของร่างกายกำจัดได้
แนวทางการแก้ไข
ด้านสุขภาพของพนักงานในสถานประกอบการที่ใช้แร่ใยหิน หรือช่างก่อสร้างที่มีโอกาสสัมผัสแร่ใยหินโดยตรง ต้องมีการเฝ้าระวังและป้องกันการสัมผัสแร่ใยหินอย่างเข้มงวด มีการตรวจสุขภาพทุกปีและมีการตรวจสุขภาพปอด
ด้านสุขภาพของผู้บริโภค เช่น ประชาชนทั่วไปที่จะสร้างบ้าน หรือจะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่อาจใช้วัสดุ แร่ใยหินเป็นส่วนประกอบ ต้องมีมาตรการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างชัดเจน