Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
1-sm, ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการคลอด, นางสาวจารุนันทน์ ภูคำสัน 61010177…
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการคลอด
กลไกการคลอดของทารกท่าปกติ
(Mechanisms of labor)
2.การผ่านเข้าช่องเชิงกราน (Engagement)
1.การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ (Descent)
3.การก้มเต็มที่ของศีรษะ (Flexion)
4.การหมุนภายในของศีรษะทารก (Internal rotation)
6.การเงยของศีรษะทารก (Extension)
5.การหมุนกลับของศีรษะทารก (Restitution)
7.การหมุนภายนอกของศีรษะทารก (External rotation
8.การคลอดทารกทั้งตัว (Expulsion)
สรีรวิทยาของการคลอดและการตอบสนอง
ทางด้านร่างกายและจิตสังคมต่อ กระบวนการคลอด
(Physio-psychological responses during labor)
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
การสั้นบางของปากมดลูก (Effacement)
การเปิดขยายของปากมดลูก (Dilatation)
แบบแผนการเปิดขยายของปากมดลูก
ระยะปากมดลูกเปิดช้า (Latent phase)
ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว (Active phase)
Acceleration phase
Phase of maximum slope
Deceleration phase
การเกิดมูกหรือมูกเลือด
การเปลี่ยนแปลงภายในถุงน้ำคร่ำ
น้ำส่วนที่อยู่เหนือส่วนนำ เรียกว่า Hind water
น้ำส่วนที่อยู่ใต้ส่วนนำ เรียกว่า Fore water
การเปลี่ยนแปลงที่ปากมดลูก
อยู่นอกอำนาจจิตใจ
ใยกล้ามเนื้อมดลูกมีลักษณะพิเศษ
การหดรัดตัวของมดลูกเกิดเป็นระยะ ๆ
ระยะที่มีการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
ระยะพัก
ระยะห่างของการหดรัดตัวของมดลูกแต่ละครั้ง
ความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
Mild intensity หรือ + คือ มดลูกหดรัดตัวอ่อน
Moderate intensity หรือ ++ คือ มดลูกหดรัดตัวแข็งตามปกติ
Strong intensity หรือ +++ คือ มดลูกหดรัดตัวแข็งมาก
Tetanic intensity หรือ ++++ คือ มดลูกหดรัดตัวแข็งมากผิดปกติ
การเปลี่ยนแปลงที่ศีรษะทารก
มีการเคลื่อนต่ำของทารก
Engagement
การเกิดก้อนโน (Caput succedaneum)
การเกยกันของกระดูกศีรษะ (Molding)
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อเอ็นต่าง ๆ ที่ยึดมดลูก
อาการและอาการแสดงที่เข้าสู่ระยะคลอด
อาการท้องลด (Lightening)
อาการเจ็บครรภ์เตือน (False labor pain)
ปากมดลูกนุ่มและบางตัว (Ripening and effacement of cervix)
มีสารคัดหลั่งจากช่องคลอด (Mucous show)
ถุงน้ำทูนหัวแตก (Spontaneous rupture of membranes)
อาการน้ำหนักลดและเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร
(Weight loss and gastrointestinal upset)
การตอบสนองทางด้านร่างกายและจิตสังคมต่อกระบวนการคลอด
การตอบสนองทางด้านร่างกายของผู้คลอดต่อกระบวนการคลอด
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system)
PaCo2 ลดลงเหลือ 22 มิลลิเมตรปรอท
ชาบริเวณมือและเท้า มึนงง และหายใจตื้น
ระบบทางเดินอาหารและลำไส้ (Gastrointestinal system)
ลำไส้มีการ เคลื่อนไหวและการดูดซึมลดลง
อาจมีภาวะขาดน้ำ ปากและ ริมฝีปากแห้ง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular system)
Cardiac output จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 40-50
้เลือดไหลกลับสู่หัวใจเพิ่มมาก
ความดันโลหิตสูงขึ้น
ระบบทางเดินปัสสาวะ (Renal system)
มีปัญหาเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะลำบาก
อาจตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะได้ถึง 1+
การตอบสนองทางด้านร่างกายของทารกต่อกระบวนการคลอด
ความสมดุลกรด-ด่าง
(Acid-base balance)
นขณะใกล้ คลอด pH จะลดลง
การหายใจและการเคลื่อนไหว
(Breathing and movement)
ถ้าถุงน้ำคร่ำแตก ไปแล้วอาจทำให้การหายใจลดลง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
(Cardiovascular system)
อัตราการเต้นของหัวใจทารกอาจจะลดลงหลัง
มดลูกเริ่มหดรัดตัวและไม่กลับสู่ระดับปกติ
Mild hypoxia
เป็นสาเหตุให้อัตราการเต้นของหัวใจทารกเพิ่มขึ้น
Severe hypoxia
จะทำให้อัตราการเต้นของหัวใจทารกลดลง
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของผู้คลอดระยะคลอด
ตื่นเต้นและไม่แน่ใจ
ความวิตกกังวลและความกลัว
การปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
นางสาวจารุนันทน์ ภูคำสัน 61010177 กลุ่ม 03
บทที่ 6 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการคลอด