Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hyperthyroidism, นางสาวจุฬาลักษณ์ ฝ่ายเพ็ชร 602701011 - Coggle Diagram
Hyperthyroidism
อาการและอาการแสดง
อัตราการเต้นของชีพจรเร็ว
น้ำหนักไม่เพิ่ม
อัตราการเต้นของหัวใจเร็ว
หิวบ่อยหรือกินจุ
คอพอก (goiter)
ตาโปน (exophthalmos)
ขี้ร้อน หงุดหงิด ตกใจง่าย อารมณ์แปรปรวน
อาการสั่น มือสั่น (tremor)
กิจกรรมการพยาบาลหลังคลอด
แนะนาการปฏิบัติตัวหลังคลอด : การป้องกันการติดเชื้อ
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ให้พักผ่อนช่วยเหลือกิจกรรม
ดูแลให้ได้รับยาลดการทางานของต่อมไทรอยด์ เช่น PTU
ให้นมบุตรได้ ยกเว้นมีภาวะผิดปกติของหัวใจและหลอดโลหิต
การวางแผนครอบครัว
ประเมินสภพทารก
แนวทางการรักษา
Adrenergic blocking agent (Inderal)
Radioiodine therapy
Propylthiouracil (PTU) 100 -150 mg/day
Methimazole
การผ่าตัด
สาเหตุ
โรคพลัมเมอร์
เนื้องอกเป็นพิษ
โรคเกรฟ (Graves)
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเนื่องจากต้องสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงเซลล์ในร่างกายมากเกินไป
มีโอกาสเกิดภาวะต่อมไทรอยด์วิกฤตจากการทางานของต่อมไทรอยด์มากกว่าปกติและเจ็บครรภ์คลอด
มีโอกาสเกิดการทางานของหัวใจล้มเหลวเนื่องจากมีระดับไทรอยด์
ฮอร์โมนสูง
ผลกระทบ
ต่อมารดา
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มีโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ หรือหัวใจล้มเหลวได้
ต่อทารก
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
มีโอกาสเป็นต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
กิจกรรมการพยาบาลระยะตั้งครรภ์
อธิบายเกี่ยวกับโรค
แนะนาการปฏิบัติตัว
รับประทานอาหาร4000-5000 แคลอรี
การพักผ่อน วันละ 10 ชั่วโมง
การรับประทานยา
รักษาความสะอาด
นับการดิ้นของทารก
กิจกรรมการพยาบาลระยะคลอด
ระยะที่ 1 ของการคลอด
จัดท่า Fowler ’s position s position s position
อาการใจสั่น หายใจไม่สะดวก
วัดสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ยาระงับปวด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพของทารกในครรภ์
ระยะที่ 2 ของการคลอด
ประเมินสัญญาณชีพทุก 10 นาที
ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5นาที
หลังคลอดฉีด Syntocinon Syntocinon
ห้ามใช้ยา methergin
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน
Hypothyroidism
แนวทางการรักษา
Levothyroxine (T4)ขนาด 100-200 g/วัน วันละครั้ง นาน 3 สัปดาห์ ซึ่งยาไม่ผ่านรก
ปรับขนาดยาตามระดับ TSH ,T4
ติดตามการทางานของต่อมไทรอยด์ทุกไตรมาส
ผลกระทบ
ต่อมารดา
แท้ง
คลอดก่อนกาหนด
ทารกตายในครรภ์
ความดันโลหิตสูง
รกลอกตัวก่อนกาหนด
ตกเลือดหลังคลอด
ต่อทารก
Cretinism Cretinism
ทารกมีความบกพร่องในการพัฒนาสมอง
สาเหตุ
มีการทาลายเนื้อต่อมไทรอยด์จากการรักษาผ่าตัด
จากสารรังสีรักษา
จากการขาดไอโอดีน
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล
2.ทารกมีภาวะเสี่ยงต่อคริตินิซึม
• เจาะเลือดจากสายสะดือทารกแรกเกิดเพื่อส่งตรวจหาไทรอยด์ฮอร์โมน
• ซักประวัติผู้คลอดเพื่อพิจารณาความเสี่ยง
• การขาดไอโดดีน
1.เมตาโบลิซึมของร่างกายต่าลง
เนื่องจากขาดไทรอยด์ฮอร์โมน
การรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
• รับประทานอาหารที่มีโปรตีนคาร์โบไฮเดรต และมีเส้นใย
• การพักผ่อน
• การติดตามฝากครรภ์ตามนัด
นางสาวจุฬาลักษณ์ ฝ่ายเพ็ชร 602701011