Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล่ามเนื้อและการพยาบาลผู้ป่วยจมน้…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล่ามเนื้อและการพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
Primary survey และ Resuscitation
ในผุ้ป่วยที่มีการบาดเจ็บกระดูกและข้อ จะมีปัญหาสำคัญคือการเสียเลือดจากการบาดเจ็บ
เกิดภาวะ Hypovolemic หรือ Hemorrhage shock ได้
การ Control bleeding ที่ดีที่สุด คือ Direct pressure ด้วย Sterile pressure dressing
ในผู้ป่วยกระดูกผิดรูปหรือ fracture ให้ทำการ Splint ให้เหมาะสม
พยาบาลควรทำการ immobilization เพื่อจัดกระดูกให้อยู่ในตำแหน่งปกติ
Secondary survey ทำการประเมินผู้ป่วยดังนี้
ซักประวัติ จากผู้ป่วย ผู้นำส่ง ผู้ประสบอุบัติเหตุ ได้แก่
สาเหตุการเกิด เช่น รถยนต์ชน รถจักรยานยนต์แฉลบ ถูกยิง ถูกแทง
ระยะเวลา
สถานที่
การรักษาเบื้องต้น
ตรวจร่างกาย มี 3 ขั้นตอน
การตรวจและการรักษา life threatening และ resuscitation
การตรวจคร่าว ๆ เพื่อ Screening test
กระดูกเชิงกรานและกระดูกซี่โครง
กระดูกสันหลัง
การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey
การเอกซเรย์
ถ่าย X-ray 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน
ถ่าย X-ray ให้ครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักนวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
Definitive care
Recognition การตรวจประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อน และการบาดเจ็บอื่น เพื่อเป็นแนวทางในการรักษา
Reduction การจัดกระดูกให้เข้าที่ให้ใกล้เคียงกับภาวะปกติมากสุด
Retention การประคับประคองให้กระดูกอยู่นิ่งกับที่ รอให้กระดูกติดตามธรรมชาติ Immobilization เป็นการประคัประคองให้กระดูกมีการเคลื่อนน้อยที่สุด
Rehabilitation การฟื้ฟูสมรรถภาพของส่นที่บาดเจ็บ
Reconstruction การแก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บ ให้กลับมาดีขึ้น
Refer การส่งต่อรักษาที่เหมาะสม
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major pelvic disruption with Hemorrhage
การตรวจร่างกาย
ดู พบ Progressive flank พบ Scrotum และ Perineum บวม
คลำ พบกระดูก Pelvic แตก PR examination พบ higt-riding prostate gland และมีเลือดออกบริเวณ Urethral meatus
การเคลื่อนไหว จะพบขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น ตรวจ Sacral nerve root และ Plexus
ระบบไหลเวียนจะพบความดันโลหิตต่ำ
X-ray ในรายที่สงสัย โดยส่งตรวจ flim pelvic AP view
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding
Fluid resuscitation อาจต้อง consult แพทย์ศัลยกรรม
Major Arterial Hemorrhage
การบาดเจ็บหลอดเลือดแดงใหญ่เรียกว่า Hard signs
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ควรทำ Direct pressure
ทำ Fluid resuscitation
Crush Syndrome
อาการที่พบ ได้แก่ Dark urine, Hemoglobin positive ผู้ป่วยจะมีอาการ Hypovolemia,Mtabolic acidosis,Hypercalemia,Hypocalemia และ DIC
การช่วยเหลือเบื้อต้น
Osmotic diuretic
เพื่อรักษาระดับ Tubular volume ลแะ Urine flow
ประเมิน Urine output ให้ได้ 10 cc/ชม.จนกว่าปัสสาวะจะใส
การปฐมพยาบาลคนจมน้ำ
การจมน้ำเป็นภาวะที่พบได้บ่อยและมีความรุนแรง มักทำให้ตายในเวลาเพียงไม่กี่นาที
พยาธิสภาพ
น้ำจืดมีความมเข้มข้นน้อยกว่าเลือด(พลาสมา) ถ้ามีน้ำอยู่ในปอดมากจะ
ถูกดููดซึมเข้ากระแสเลือดทันที ปริมาณเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มขึ้น ทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดสูง ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหัวใจวายได้
น้ำทะเลที่สำลักอยู่ในปอดจะดูดซึมเลือด(พลาสมา) จากกระแสเลือดเข้าไปในปอด ทำให้ปิดบวมน้ำ ระบบไหลเวียนเลือดลดลง ระดับเกลือแร่ในเลือดสูงขึ้น ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวายหรืออาจเกิกดภาวะช็อกได้
อาการ
หมดสติ
หยุดหายใจ
หัวใจหยุดเต้น(คลำชีพจรไม่ได้)
ปวดศีรษะ
เจ็บหน้าอก
อาเจียน
กระวนกระวาย
ไอมีฟองเลือด
หัวใจเต้นเร็วกว่าแกติ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ความดันเลือดต่ำ
เกิดภาวะช็อก
ปัจจัยที่มีผลต่อพยาธิสภาพของผู้จมน้ำ
สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ำ ได้แก่ อายุ การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่ก่อนจมน้ำ diving reflexes สุจภาพผู้จมน้ำ การรับประทานอาการที่อิ่มใหม่ๆ การมึนเมาจากสุรา ความรู้ในการว่ายน้ำ
อุณหภูมิร่างกายหลังจมน้ำ ลดลงอย่างรวดเร็วทั้งในเลือดและสมอง
ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ำ
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
การปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินหายใจและปอด
การเปลี่ยนแปลงระบบประสาท
การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
การเปลี่ยนแปลงของเกลือแร่และกรดด่างในเลือด
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย
การปฐมพยาบาล
กรณีรู้สึกตัวดี กระตุ้นให้หายใจลึกๆ ปลอบโยนให้คลายความตกใจ ดูแลร่างกายให้อบอุ่น แนะนำให้ไปพบแพทย์
ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ทำการเป่าปากช่วยหายใจทันที
ถ้าคลำชีพจรไม่ได้หรือหัวใจหยุดเต้น ทำการนวดหัวใจทันที
ถ้าผู้ป่วยหายใจได้เอง ควรจับให้นอนตะแคงข้าง และศีรษะหงายไปข้างหลัง
ส่งผู้ป่วยที่จมน้ำไม่ว่าอาการจะหนักเบาเพียงใด ไปพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลทุกราย ในรายที่หยุดหายใจควรเป่าปากตลอดทาง อย่าเพิ่งหยุดการช่วยเหลือ
จัดทำโดย นางสาวฉวีวรรณ มิ่งศรีสุข 6001210811 No.33 Sec.B