Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด heart, น.ส.สุณิสา …
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด
:checkered_flag:
Acute MI
โรคหัวใจขาดเลือด
(IHD)
/โรคหลอดเลือดแดงโคโรนารี
(CAD)
หลอดเลือดแดงที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตัน
เกิดจากไขมัน และเนื้อเยื่อสะสมอยู่ในผนังของหลอดเลือด
:no_entry:อาการสำคัญ
ใจสั่น
เหงื่อออก
เจ็บเค้นอก
เหนื่อยขณะออกแรง
เป็นลม หมดสติหรือเสียชีวิตเฉียบพลัน
:star:กลุ่มอาการ
ภาวะเจ็บเค้นอกคงที่ (Stable angina)
เจ็บเค้นอกเป็นๆ หายๆ อาการไม่รุนแรง
ระยะเวลาครั้งละ 3-5 นาที
หายโดยการพักหรืออมยา
เป็นมานาน>2เดือน
ภาวะหัวใจขาดเลือด
เฉียบพลัน (Acute coronary syndrome)
เจ็บเค้นอกรุนแรงเฉียบพลัน
เจ็บขณะพัก (Rest angina)
ระยะเวลา> 20 นาที
ชนิด
Non ST elevation acute coronary syndrome
ชนิดที่
ไม่พบ
ST segment elevation
มักพบเป็น ST segment depression และ/หรือ T wave inversion ร่วม
ST elevation acute coronary syndrome
ชนิดที่
พบ
ความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ลักษณะ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads ต่อเนื่อง
หรือเกิด LBBB ขึ้นมาใหม่
:pencil2:อาการนําที่สําคัญ
กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก
อาการประกอบ
อาการเจ็บแน่น/อึดอัดบริเวณหน้าอก
เจ็บหนักๆเหมือนมีอะไรมาทับ
เป็นมากขณะออกกำลังกาย
เป็นนานครั้งละ2-3นาที
1 more item...
ปวดเมื่อยหัวไหล่/ปวดกราม
จุกบริเวณลิ้นปี่
การวินิจฉัยโรค
ซักประวัติ
ดูจากคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะมีอาการเทียบกับขณะที่ไม่มีอาการ
(exercise stress test)
การวินิจฉัยแยกโรค
ดูอาการเฉพาะ
ควรนึกถึงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (acute coronary syndrome)
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้ำ
อาจสงสัยว่าอาการเจ็บเค้นอกนั้นมีสาเหตุมาจากโรคหัวใจขาดเลือด
ในpt.ที่มีอาการเจ็บเค้นอก และเคยได้รับการตรวจพิเศษทางระบบหัวใจมาแล้ว
การรักษา
ให้ใช้ยาที่ได้รับจากแพทย์ตามความเหมาะสม
หากอาการหลังอมยาไม่ดีขึ้น ให้ยาแก้ปวด Morphine 3-5 mg เจือจางทางหลอดเลือดดํา
ให้ Isosorbide dinitrate (Isordil) 5 mg อมใต้ลิ้น
ถ้าไม่หาย ให้ซ้ำได้ทุก 5 นาที (สูงสุด 3 เม็ด)
เตรียมพร้อมสําหรับภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
BP ต่ำ
หัวใจหยุดเต้น
ให้ Aspirin ตามแผนการรักษา
ตรวจ EKG, SpO2, V/S
นอนพัก+ให้O2
ส่งรพ.ด่วน :!!:
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน 1–2สัปดาห์
โรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบเฉียบพลัน
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
โรคที่ทําให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
เกิดขึ้นเรื้อรังเกินกว่า3สัปดาห์ขึ้นไป
Ischemic cardiomyopathy
valvular heart disease
congenital heart disease
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
:pen:การวินิจฉัย
อาจคิดถึงโรคหัวใจขาดเลือด ในpt. Syncope
ส่งตรวจพิเศษ
รีบตรวจชีพจร การเต้นของหัวใจ+EKG
:fountain_pen:การรักษา
พิจาณาใส่สายกระตุ้นหัวใจชั่วคราว (temporary pacemaker)
ให้การรักษาเพื่อแก้ไขภาวะช็อก
กระตุกไฟฟ้าหัวใจด้วยพลังงานสูงสุดสลับกับการกู้ชีพเบื้องต้น
ให้การรักษาภาวะหัวใจขาดเลือด
การช่วยหายใจ และนวดหัวใจจากภายนอก
:silhouettes:บทบาทของพยาบาลฉุกเฉิน ในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤติ
ประสานงาน
ให้ออกซิเจน
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
ตามหลัก
OPQRST
Q: Quality
ลักษณะอาการเจ็บอก
R: Refer pain
เจ็บที่ไหน/เจ็บร้าวไปที่ไหน
P: Precipitate cause
สาเหตุชักนําและการทุเลา
S: Severity
ความรุนแรงของอาการ
O: Onset
ระยะเวลาที่เกิดอาการ
T: Time
ระยะเวลาที่เป็น
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการแปลผล
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด cardiac arrest
การพยาบาลกรณี EKG show ST elevation หรือพบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่
พยาบาลเปิดหลอดเลือดเร่งด่วน
แพทย์ทำ Primary PCI
ประสานงานจัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอทั้งปริมาณ
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
:checkered_flag:
Pulmonary embolism (PE)
ลิ่มเลือดไปอุดตันที่หลอดเลือดปอด
(VTE)
:explode:กลไก
เลือดผิดปกติ ทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย
ผนังหลอดเลือดดำผิดปกติ
มีการบาดเจ็บ/อักเสบ
การไหลเวียนลดลง
ไม่ได้เคลื่อนไหวนาน
:warning:ปัจจัยเสี่ยง
เป็น CA
เคยเป็นDVT หรือ PE มาก่อน
ผ่าตัดใน12 wks.ที่ผ่านมา
immobilization นานเกิน 3 วัน ใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
หลังคลอด 3 สัปดาห์/การใช้estrogen
มีประวัติครอบครัวเป็น DVT หรือ PE
กระดูกหักบริเวณขาใน 12 wks.ที่ผ่านนมา
:smiley:อาการแสดงทางคลินิก
ตรวจร่างกาย
hypoxemia
หายใจเร็ว
ฟังปอดได้ยินเสียง wheezing
หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
หัวใจเต้นเร็ว
ได้ยิน pleural rub
ตัวเย็น, BP ต่ำ, cyanosis
:silhouettes:แนวทางการวินิจฉัยและการส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติตรวจร่างกาย
:red_flag:ใช้ wells scoring system
ลักษณะอาการ
อาการเข้าได้กับDVT
3 คะแนน
การวินิจฉัยอื่นๆมีโอกาสเป็นไปได้น้อยกว่า PE
3 คะแนน
อัตราการเต้นหัวใจ>100ครั้ง/นาที
1.5 คะแนน
ประวัติไม่ได้เคลื่อนไหว/มีการผ่าตัดในระยะ 4 wks.ที่ผ่านมา
1.5 คะแนน
ประวัติเคยเป็น PE / DVT
1.5 คะแนน
มีอาการไอเป็นเลือด
1 คะแนน
CA กำลังรักษาอยู่
1 คะแนน
โอกาสที่จะเป็น PE
สูง
คะแนน >6
ปานกลาง
คะแนน 2-6
น้อย
คะแนน <2
chest X-ray
EKG 12 leads
พบ sinus tachycardia
ลักษณะ deep S-wave ใน lead I และมี Q-wave
T-inversion ใน lead III พบไม่บ่อย
echocardiography
พบ right ventricular dysfunction
arterial blood gas (ABG)
พบ hypoxemia + hypocapnia
ค่า biomarkers ต่างๆ
พบค่าสูงกว่าปกติ
Troponin-I หรือ T และ Pro-Brain-type natriuretic peptide
อาจพบสูงกว่าปกติ
:check:การรักษา
Anticoagulation
ให้ heparin ในหลอดเลือดดําในช่วงแรก
จากนั้นให้ยา Coumadin ต่ออีก ประมาณ 3 เดือน
ถ้าเกิด PE ซ้ำอีกอาจให้ยา Anticoagulation ตลอดชีวิต
Thrombolytic therapy
ผู้ป่วยที่มีกรณี massive pulmonary emboli
Caval filter
ใส่ตะแกรงกรอง embolism ใน inferior vena cava
น.ส.สุณิสา บัวหอม 6001211085 Sec B