Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง - Coggle Diagram
อิเหนา ตอน
ศึกกะหมังกุหนิง
ความเป็นมา
ชาวชวาได้แต่งขึ้นเอเฉลิมพระเกียรติแด่พระมหากษัตริย์ ซึ่งพระองค์เป็นทั้งนักรบ นักปกครอง และพระองค์ทรงมี พระราชธิดา ๑ พระองค์ และพระราชโอรส ๒ พระองค์ เมื่อพระราชธิดาของพระองค์ได้ทรงเสด็จออกผนวช จึงได้แบ่งราชอาณาจักรเป็น ๒ ส่วน คือกุเรปัน และ ดาหา
ผู้แต่ง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมหาราช
ลักษณะคำประพันธ์
กลอนบทละคร
แต่ละวรรคมักจะขึ้นต้นด้วยคำว่า “เมื่อนั้น” “บัดนั้น” และ “มาจะกล่าวบทไป”
จุดมุ่งหมาย
เพื่อใช้ในการแสดงละครใน โดยละครในกำหนดให้เล่นเพียง 3 เรื่อง คือ รามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา
เพื่อรักษาจารีตประเพณีของราชสำนัก
รักษาไว้เป็นมรดกของชาติสืบไป และเพื่อป้องกันการสูญหาย
ตัวละครที่สำคัญ
อิเหนา
บุษบา
ท้าวกุเรปัน
ท้าวดาหา
ท้าวกะหมังกุหนิง
วิหยาสะกำ
วิเคราะห์บทประพันธ์
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
จินตภาพ ผู้อ่านสามารถคิดภาพตามและได้รับอรรถรสในการอ่านมากขึ้น
การเล่นคำ มีการเล่นคำซ้ำ ใช้ภาษาสละสลวย พ้องเสียง การเล่นสัมผัสพยัญชนะ
ภาพพจน์ อุปมา โดยการใช้คำเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งหนึ่ง ทำให้เห็นภาพชัดขึ้น และใช้การเปรียบเทียบเกินจริง เพื่อให้เห็นภาพมากขึ้น
คุณค่าด้านเนื้อหา
โครงเรื่อง
แนวคิดของเรื่อง เป็นเรื่องที่แสดงให้เห็นถึงความรักที่พ่อมีให้ต่อลูก
ฉาก เนื้อเรื่องเป็นเรื่องของชวา แต่การบรรยายฉากในเรื่องเป็นฉากของไทย
ปมขัดแย้ง ตอนศึกกะหมังกุหนิงมีหลายข้อขัดแย้ง เช่น ท้าวกุเรปันจะให้อิเหนาอภิเษกกับบุษบา แต่อิเหนาหลงรักจินตะหรา ไม่ยอมอภิเษกกับบุษบา
ตัวละครมีบุคลิกนิสัยที่โดดเด่นและแตกต่างกัน
คุณค่าด้านสังคม
แสดงให้เห็นความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรมโบราณ
แสดงให้เห็นถึงสภาพการศึกสงคราม
ข้อคิดที่ได้
ความกล้าหาญ
ความรักในศักดิ์ศรี
รักษาคำสัตย์
ความรักและความหลงใหล