Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีมารดาติดสารเสพติดขณะตั้งครรภ์, นางสาวอธิตยา…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีมารดาติดสารเสพติดขณะตั้งครรภ์
ผลของการสูบบุหรี่ในระยะตั้งครรภ์
ต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด
สาเหตุ
ละอองของเหลว /ทาร์ก่อให้เกิดโรคมะเร็งปอด และถุงลมโป่ง
พอง
สารระคายเคืองระคายเคืองในหลอดลม หลอดลมอกเสบเรื้อรัง
สารนิโคตินเข้าสู่สมอง ภายใน 7 นาทีทําใหม่ ผลต่อระบบประสาท
และระบบไหลเวียนโลหิต
ก๊าซคารบ์ อนมอนอกไซด์(CO) ขัดขวางการลําเลียงออกซิเจนของ เม็ดเลือดแดง carboxyhemoglobin ทารก:มารดา 1:4
ผลต่อทารกในครรภ์
หลอดเลือดหดรัดตัว (vasoconstriction)
ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมาก
ขาดออกซิเจนอย่างเรื้ออรัง มารดาแท้งหรือทารกตาย
fetal tobacco syndrome
ทารกมีการเจริญเติบโตช้า
น้ำหนักตัวต่ำกว่า ปกติ150-300 กรัม
เกิดก่อนกำหนด
เกิดภาวะหายใจลําบาก (respiratory distress)
ทารกมีปากแหว่ง เพดานโหว่
inguinal hernia
strabismus
ระดับIQ ต่ำ
hyperactive
การพยาบาลทารกก่อนแรกเกิด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล มีภาวะเสี่ยงต่อการขาดออกซิเจนและเกิดก่อนกําหนด
การพยาบาลทารกหลังเกิดทันที
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดออกซิเจนแรกเกิดและภาวะแทรกซ้อนหลังเกิดเนื่องจากเกิดก่อนกําหนด
มีโอกาสเจริญ เติบโตล่าช้ากว่า ปกติจากการที่
เลือดไปเลี้ยง ส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่ดี
มารดารู้สึกผิดและวิตกกังวลต่อการเจ็บป่วยของทารก
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดา
ติดแอลกอฮอล์ในระยะตั้งครรภ์
ผล
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะ FAS อยางรุ่นแรง
มีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์
มีการเจริญ เติบโตของกล้ามเนื้อและระบบประสาทไม่ดี
ระดับสติปัญญา (IQ) ต่ำ
มีลักษณะผิดปกติของรูปหน้าอย่างชัดเจน ศีรษะเล็ก
เป็นโรคหัวใจแต่กําเนิด
ลักษณะผิดปกติภายนอก
กลุ่มอาการทารกติดสุรา (fetal
alcohol syndrome=FAS)
พบได้ในช่วง 6-12 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ระยะ 1-3 วันแรก
ทารกจะมีอาการสั่น นอนหลับได้น้อยร้องไห้ตลอดเวลา
ท้องอืด มีลักษณะคล้ายหิวนมตลอดเวลา แต่ดูดได้ไม่ดี
แนวทางการรักษา
ให้มารดาเลิกดื่มสุราเมื่อรู้ว่า ตั้งครรภ์
ทารกให้ยาที่ใช้รักษาระบบประสาทส่วนกลางให้ทำงานดีขึ้น
ใหยาระงับหรือป้องกันการชัก คือ Phenobarbital หรอื diazepam
ข้อวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล
มีอาการของการขาดแอลกอฮอล์และภาวะแทรกซ้อน ภายหลังเกิด
มีโอกาสเกิดการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการล่าชา
มารดารู้สึกผิดและวิตกกังวลต่อภาวะสุขภาพทารกหลังเกิด
และครอบครวัไม่สามารถปรับตัวได้
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดา
ติดสารเสพติดเฮโรอนีในระยะตั้งครรภ์
พบ
ทารกมีอาการถอนยา ร้อยละ90
อตั ราตายสูงถึงรอ้ ยละ 90
มีชอืทางเคมีวา่ Diacetyl Morphine Hydrocloride
เฮโรอนี มีฤทธริ> า้ยแรงกวา่ Morphine 3-8 เท่า
รา้ยแรงกวา่ ฝิ่น 80 เท่า
ถ้าทําใหบ้ รสิ ุทธจิ> ะมีฤทธริ> า้ยแรงกวา่ ฝิ่น 100 เท่า
ผล
hypoxia
ทารกเกิดก่อนกำหนด
ความพิการแต่กำเนิด อาจเกิดจากการติดเช้ือ
ภาวะตับอักเสบ
ซิฟิลิสแต่กำเนิด
IUGR , SGA
อาการและอาการแสดงของทารกแรกเกิดที่มีภาวะถอนยา
ภายใน 24-48ชั่วโมง
มีอาการทางระบบประสาท
มีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
กระสับกระส่าย พักผ่อนไม่ได้นอนหลับยาก
แขนขาสั่น หรอืสั่นทั้งตัว moro reflex ไม่ดี
ร้องเสียงแหลมและร้อนกวนผิดปกติ
กล้ามเนื้อมีอาการเกร็งมากขึ้น
หาวและจามบ่อยครั้ง
อาการหิวตลอดเวลาแต่ดูดได้ไม่ดี
มีเหงื่อออก ตัวเย็น
ปฏิกิรยิาตอบสนองต่อสิ่ง ที่มากระตุ้นไวกว่าปกติ
ชัก / หมดสติและตาย
อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ท้องเสีย ไม่ยอมดูด นม ขย้อนได้ง่าย ดูดนมมากเกินไป กล้ามเนื้อหน้าท้อง มีอาการเกร็ง มีภาวะขาดน้ำ ท้องอืด
respiratory acidosis
mottling
แนวทางการรักษา
ให้ยา
ประมิน Finnegan
ให้คะแนนจากลักษณะอาการและอาการแสดงของทารกตั้งแต่แรกเกิด
โดยประเมินทุก 1 ชั่วโมงตลอด 24 ชั่วโมง
อาการดีขึ้น ประเมินทุก 12 ชั่วโมง 6 ชั่วโมงและ4 ชั่วโมง ตามลําดับ
ประเมินได้7 คะแนนหรือต่ำกว่าห้ามให้ยากล่อมประสาท
ประเมินได้8 คะแนนขึ้นไปให้การรักษาโดยให้ยาร่วมกับการรกัษา ทั่วๆไป
ประเภทของยาที่ใช้ในการรักษา
ยานอนหลับ morphine sulfate methadone
ยากล่อมประสาท เชน่ diazepam หรือ valium หรือ Phenobarbital
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการของการถอนยาเฮโรอีน
เสียสมดุลของน้ำและอเิล็คโตรไลท์น้ำตาลในเลือดต่ำ
เนื่องจากดูดนมได้ไม่ดีมีอาการท้องเสียและอาเจียน
สมองขาดออกซิเจน เนื่องจากระบบประสาทถูกกดและ จากภาวะชัก
เกิดแผลถลอกหรอืแผลลึกบรเิวณจมูก เข่า ข้อศอก ศีรษะ
มีโอกาสเกิดสัมพันธภาพระหว่างมารดา ทารกไม่ดี เนื่องจากทารกมีอาการของการถอนยาเฮโรอีน และต้อง
ถูกแยกจากมารดาตั้งแต่แรกเกิด
นางสาวอธิตยา สิงห์ซอม เลขที่86 ชั้นปีที่ 3