Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจล้มเหลว(Congestive heart failure), ลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว,…
โรคหัวใจล้มเหลว(Congestive heart failure)
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
cardiomegaly
moderate aortic stenosis
mitral regurgitation
impair left ventricular ejection fraction EF 20%
สูบบุหรี่
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะน้ำคั่งปวด
บวมน้ำ(Edema)
หายใจลำบาก
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
เสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน
การประเมินเพื่อการวินิจฉัย
Echocardiogram
impair left ventricular ejection fraction EF 20%
global hypokinesia
moderate aortic stenosis
mitral regurgitation
Chest x-ray
infiltration both lower lobe
cardiomegaly
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC (complete blood count)
Hb 8gm./dl .
Hct. 24 %
WBC 9600 cell/mm.³
Platelete 140,500 cell/mm.³
Blood biochemistry
BUN 16 mg./dl.
Cr 1.0 mg./dl.
Albumin 2.1 gm./dl
Total protein 5.3 gm./dl.
อาการ
เหนื่อย
หายใจหอบ
นอนราบไม่ได้
ไอแห้งๆ
วินิจฉัยทางการพยาบาล
1.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากประสิทธิภาพ
การทำงานของหัวใจลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
1.O:สีเหลืองซีด คล้ำ มือเท้าเย็น มีเหงื่อซึม เยื่อบุตาซีด
2.O:Capillary refill time 3 วินาที
3.O:BP= 89/50 mmHg
4.O:คลำชีพจร ค่อนข้างเบา เร็วไม่สม่ำเสมอ 90-110 b /min
9.S:ปัสสาวะออกน้อย
11.S:หายใจหอบเหนื่อย
5.O:ฟังได้ยินเสียง murmur ที่ตำแหน่ง mitral valve
10.S:นอนราบไม่ได้ และหายใจไม่สะดวกในเวลากลางคืน
6.O:คลำ PMI พบที่ ICSที่ 6 ตัดกับ anterior axillary line
7.O:Hb 8 gm./dl .
8.O:Hct. 24 %
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2.เพื่อให้ได้รับเลือดอย่างเพียงพอในอวัยวะต่างๆของผู้ป่วย
เกณฑ์การประเมิน
1.อาการหายใจหอบเหนื่อยลดลง
2.สัญญาณชีพปกติ BP ≥ 90 / 60 mmHg.
3.ผิวหนังอุ่น ชีพจรส่วนปลายแรง Capillary refill time <3sec.
4.ค่า HB ปกคิ คือ13.5-17.5gm./dl
5.ค่า Hct.ปกติ คือ 38.8 – 50.0 %
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียง (best rest)
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
วัดสัญญาณชีพทุก 2-4 ชั่วโมง รักษาระดับ BP ≥ 90 / 60mmHg, MAP ≥ 70mmHg
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจ และเสียง mermer
Monitor EKG เฝ้าระวังภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ประเมินอาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ประเมินภาวะ low cardiac output ได้แก่ neuro's Signs, record urine output ประเมินการทำงานของไต capillary refill time และชีพจรส่วนปลาย
2.ผู้ป่วยมีภาวะน้ำเกินเนื่องจากการกรองของไตลดลงมีการคั่งของโซเดียมและน้ำ
ข้อมูลสนับสนุน
1.O:น้ำหนักตัว 49 กิโลกรัม (1 สัปดาห์ก่อน 45 กิโลกรัม )
2.O:ขาบวมกดบุ๋มทั้งสองข้าง
3.O:ปอด ฟังได้เสียง crepitation both lung หายใจหอบเหนื่อย 32 b/min
4.O:Albumin 2.1 gm./dl
5.O:Total protein 5.3 gm./dl.
วัตถุประสงค์
1.ผู้ป่วยที่มีสมดุลของน้ำและเกลือแร่
2.เพื่อใหู้้ป่วยสุขสบายอาการหอบเหนื่อยลดลง
เกณฑ์การประเมิน
ปริมาณน้ำเข้าเท่ากับน้ำออกจากร่างกาย (Intake-Output หรือ intake <Output)
2.IBW อยู่ในเกณฑ์ตามต้องการ
3.อาการบวมตามแขนขา กันกบ รอบตา ลดลง
4.ค่า Albumin ปกติ คือ 3.5 - 5 gm/dL
5.ค่าTotal protein ปกติ คือ 6.4 – 8.3 gm/dL
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนท่า fowler's position
วัดสัญญาณชีพทุก 2-4 ชั่วโมง (ตามความรุนแรง)
3.ประเมินอาการบวมทุก 8 ชั่วโมง
4.ชั่งน้ำหนักทุกวันหลังตื่นนอนตอนเช้า (ถ้าผู้ป่วยสามารถยืนได้)
5.ฟังเสียงปอดทุก 4-8 ชั่วโมงเฝ้าระวังน้ำคั่งในปอด
6.ดูแลให้ได้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา: flurosemide (lasix)
7ดูแลให้ได้รับประทานอาหาร: high potassium (โดยเฉพาะรายที่ได้รับยาขับปัสสาวะ lasix) และ Low Sodium
3.ความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากความไม่สมดุลของการได้รับและความต้องการใช้ออกซิเจน
วัตถุประสงค์
1.ผู้ป่วยมีความทนต่อกิจกรรมเพิ่มขึ้นตามขีดความสามารถไม่มีอาการหายใจลำบาก
ข้อมูลสนับสนุน
1.O:อาการเหนื่อย หายใจหอบ นอนราบไม่ได้
2.O:PR= 108 b/min
3.O:RR= 32 b/min
4.O:BP= 89/50 mmHg
เกณฑ์การประเมิน
สัญญาณชีพ (P, RR, BP) ขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือเปลี่ยนแปลงไม่เกินร้อยละ 10
สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและกิจกรรมต่างๆได้ตามต้องการ
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วย Bed rest / absolute bad rest
2.ให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมตามความเหมาะสมโดยไม่มีอาการหอบเหนื่อย (Activity as tolerate)
ประเมินสัญญาณชีพก่อนขณะและหลังทำกิจกรรม (P, RR, BP)
ให้นอนพักหลังรับประทานอาหาร (bed rest after meal)
ให้การพยาบาลทั้งหมดหรือบางส่วนตามความเหมาะสม (Total care or partial care)
ให้คำแนะนำญาติผู้ดูแลช่วยกิจกรรมสงวนพลังงาน
ทำกิจกรรมการพยาบาลให้รบกวนผู้ป่วยน้อยลง
อาการแสดง
Left ventricular failure (Lt.side HF)
อ่อนเพลีย
หายใจหอบเหนื่อย
มือเท้าเย็น
ผิว: ซ๊ด คล้ำ
ปัสสาวะออกน้อย
ไอแห้งๆ
ตา: เยื่อบุตาซีด
ชีพจรเบา
Right ventricular failure (Rt. Side HF)
Jugular vein โป่งพอง วัดได้ 4.5 cm.
หลังเท้าบวมกดบุ๋ม 2+
ความดันโลหิตต่ำ
น้ำหนักตัว 49 กิโลกรัม (1 สัปดาห์ก่อน 45 กิโลกรัม )
การรักษา
On O2 cannula 5 lit./min.
Absolute bed rest
Low salt diet
Restrict oral fluid 1000 ml./day
Record V/S q 1 hr.
Record Intake/output, if urine<30ml./hr. ,please notify
Body weight OD
Dobutamin (2:1) vein drip 7 ml./hr.
Lasix 40 mg. vein q 12 hr.
Lasix (40 mg.) 1 x1 oral OD เช้า
Captopril (25mg.) ½ x1 oral OD เช้า
ASA (81mg.) 1 x1 oral pc. เช้า
Losec (20mg.) 1x1 oral ac. เช้า
สรุปการรักษา
วันที่ 3 อาการดีขึ้น หายใจ room air ไม่หอบเหนื่อย เท้าทั้ง 2 ข้างไม่บวมกดบุ๋มV/S T=37ºC, PR= 88/min, RR= 20/min BP= 100/60 mmHg แพทย์อนุญาตให้กลับบ้านได้ โดยนัดมาพบแพทย์อีก 2 สัปดาห์ พร้อมตรวจ chest X- ray , blood electrolyte ก่อนพบแพทย์ ยาที่ให้ผู้ป่วยกลับไปรับประทานที่บ้านได้แก่
Lasix (40 mg.) 1x1 oral OD เช้า
Captopril (25mg.) ½ x1 oral OD เช้า
ASA (81) 1 x1 pc. เช้า
Losec (20mg.) 1x1 oral ac. เช้า
ลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว
Right ventricular failure (Rt. Side HF)
นอนราบแล้วหายใจไม่สะดวกในเวลากลางคืน
หายใจหอบเหนื่อย
อ่อนเพลีย
ลิ้นหัวใจเอออร์ติคตีบ
หายใจหอบเหนื่อย
หลังเท้าบวมกดบุ๋ม 2+
ปอด ฟังได้เสียง crepitation both lung หายใจหอบเหนื่อย 32 b/min