Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดกับการควบคุมโรค - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดกับการควบคุมโรค
วิทยาการระบาดกับการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ
วิทยาการระบาดของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นโรคที่มีการผลิตวัคซีนขึ้นใช้ป้องกันได้จัดเป็นโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
เป้าหมายการใช้วัคซีนป้องกันโรค
1 ป้องกันโรคในระดับบุคคลเพื่อให้ผู้ที่ได้รับวัคซีนมีภูมิคุ้มกันที่เพียงพอที่จะป้องกันการติดเชื้อหรือการป่วย
2 ป้องกันโรคในระดับประชากรเพื่อให้ประชาชนจำนวนมากในพื้นที่หรือชุมชนมีภูมิคุ้มกันโรคโดยสามารถป้องกันการระบาดของโรคในชุมชนได้
วิทยาการระบาดของโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
ระดับปฐมภูมิ เพื่อป้องกันการติดเชื้อและการป่วย
2 ระดับทุติยภูมิ เพื่อป้องกันความรุนแรงและการใช้ชีวิต
3 ระดับตติยภูมิ เพื่อฟื้นฟูร่างกายหลังการป่วยและป้องกันความพิการ
โรคติดต่อจากอาหารและน้ำเกิดจากการติดเชื้อจุลินทรีย์หรือได้รับพิษของเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในอาหารและน้ำ แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ
1 กลุ่มโรคอุจจาระร่วง
2 โรคอาหารเป็นพิษ
3 กลุ่มโรคหนอนพยาธิ
4 กลุ่มไข้เอนเทอริค
5 กลุ่มโรคตับอักเสบ
6 กลุ่มไขสันหลังอักเสบ
หลักในการป้องกันโรค
1 การจัดการปัจจัยด้านคน สุขอนามัยบุคคล สร้างภูมิต้านทานเฉพาะโรคด้วยวัคซีน
2 การจัดการปัจจัยด้านเชื้อ การล้างผัก ปรุงอาหารให้สุก ต้มน้ำหรือ ใส่คลอรีนทำลายเชื้อ
การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยสัตว์และคน
1 การป้องกันระดับปฐมภูมิ ป้องกันการติดเชื้อและการป่วย โดยจัดการปัจจัยด้านคนและสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก
2 การป้องกันระดับทุติยภูมิ เมื่อเกิดการป่วยขึ้นการดูแลผู้ป่วยเพื่อลดความรุนแรงและการเสียชีวิต
วิทยาการระบาดของโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
การป้องกันแบบปฐมภูมิ คือการป้องกันการติดเชื้อและการป่วย
การป้องกันแบยทุติยภูมิ คือการป้องกันความรุนแรงและการเสียชีวิตจากโรค
มาตรการป้องกันโรค
ระดับปฐมภูมิ
1 เพื่อป้องกันการติดเชื้อและการป่วย
2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยลดพฤติกรรมเสี่ยงและส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรค
3 พฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อและเชื้อ
ระดับทุติยภูมิ
มีความสำคัญมากสำหรับโรคกลุ่มนี้เพราะนอกจากจะช่วยลดความรุนแรงของโรครวมทั้งป้องกันการเสียชีวิตของผู้ป่วยแล้วยังมีการลดแรงโรคที่สำคัญที่สุดคือตัวผู้ป่วยเอง