Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, นางสาวอรณา สุทธิเชษฐ์ รุ่น 36/2…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
Croup
สาเหตุ
เกิดจากการอักเสบที่บริเวณฝาปิดกล่อง , กล่องเสียง , หลอดลมใหญ่ หลอดลมฝอยในปอด
มีการติดเชื้อ
virus
Bacteria
ปัญหาทางการพยาบาล
พร่องออกซิเจน
เกิดจากอุดกลั้นของทางเดินหายใจเฉียบพลัน
การตรวจร่างกาย
มีเสียงหายใจแบบ inspiratory stridor ไอแบบมีเสียงก้อง
กลุ่มอุดกลั้นทางเดินหายใจส่วนบนบริเวณกล่องเสียงและส่วนที่อยู่ใต้ลงมา
Tonsillitis / Pharyngitis
สาเหตุ
เชื้อไวรัส Beta Hemolytic streptococcus gr. A
การรับประทานยา Antibiotic ควรรับประทานให้ครบ 10 วัน เพื่อป้องกัน กรวยไตอักเสบ ไข้รูห์มาติค หัวใจรูห์มาติค
เกณฑ์พิจารณาเพื่อทำการผ่าตัดทอนซิลนเด็กเล็ก
มีภาวะกลืนลำบากรบกวนคุณภาพชีวิตเด็ก
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดทอนซิลที่ต้องเฝ้าระวัง
การพร่องออกซิเจน
หายใจไม่สะดวกในช่วงสัปดาห์แรกหลังจากการผ่าตัด
มีเลือดออกไม่หยุด เลือดออกมาก
การดูแลหลังผ่าตัด
จัดท่านอนศรีษะสูงโดยใช้หมอนหนุนเพื่อทำให้หายใจได้สะดวก
ถ้ามีเลือดออกในช่องปากให้อมน้ำเเข็งหรือประคบเย็นสลับพักอย่างละ 10 นาที
กลั้วคอ ทำความสะอาดช่องปากทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร
ไซนัสอักเสบ ( Sinusitis )
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา เมื่อติดเชื้อจะทำให้บวมเยื่อบุโพรงอากาศทำให้เกิดภาวะอุดตันช่องระบายโพรงอากาศ
การให้ยาแก้แพ้ในไซนัสชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
ให้ยาแก้แพ้ได้เฉพาะผู้ป่วยที่เป็นไซนัสอักเสบเรื้อรังสาเหตุจากชักมาจากโรคเยื่อบุจมูกอักเสบจากภูมิแพ้เท่านั้น
การล้างจมูก
จะทำให้โพรงจมูกสะอาด ป้องกันการลุกลามของเชื้อไปปอด ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้น บรรเทาาการแน่นจมูก ลดการระคายเคือง
วิธีการล้างจมูก
ล้างจมูกก่อนใช้ยาพ่น จะช่วยให้ประสิทธภาพของยาพ่นดี
ล้างวันละ 2-3 ครั้ง
ใช้ 0.9 % NSS ในการล้างจมูก จะช่วยลดความเหนียวของน้ำมูก
การ X-ray paranasal sinus ไม่ทำให้เด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีเพราะ ในเด็กที่อายุต่กว่า 6 ปีไซนัสบางที่ยังโตไม่เต็มที่จะทำให้การแปลผลผิดได้
หลอดลมอักเสบ ( Bronchitis ) หลอดลมฝอยอักเสบ
( Bronchiolitis )
เป็นปัญหาทางเดินหายใจส่วนล่าง
เกิดจาการอักเสบและอุดกลั้นของหลอดลม
พบเชื้อ Respiratory syncytial virus บ่อยที่สุดและเกิดในเด็กอายุ 6 เดือนบ่อยที่สุด
กลไก
เชื้อไวรัสทำลายเนื้อเยื่อหลอดลมฝอยทำให้เกิดอาการ อักเสบ บวม เสมหะคั่งเกิดการอุดกลั้นของหลอดลมฝอย
ความแต่งต่างระหว่าง Bronchitis และ Bronchiolitis
ตำแหน่งพยาธิสภาพ
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำเพียงพอจะช่วยให้เสมหะอ่อนตัว และช่วยในการพัดโบกของ Cilia
ปัญหาการติดเชื้อและการพร่องออกซิเจนสำคัญเนื่องจาก เมื่อเกิดการติดเชื้อจะส่งผลต่อการอักเสบทำให้เกิดอาการบวมของทางเดินหายใจ มีเสมหะเพิ่มขึ้น ทางเดินหายใจตีบแคบ ออกซิเจนผ่านไม่ได้ และเมื่อเกิดปัญหาพร่องออกซิเจน เมื่อเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอผลที่ตามมาคือ จะเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
ปอดบวม ( Pneumonia )
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส
การรักษา
ดูแลให้ได้รับยาเพียงพอ จะช่วยทำให้เสมหะอ่อนตัว
Clear airway suction ให้หายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลปัญหาพร่องออกซิเจน ให้ขยายหลอดลม ยาขับเสมหะ ยาฆ่าเชื้อ
การระบายเสมหะ
การจัดท่าผู้ป่วย ( Postural drainage )
อยู่ส่วนหลัง Posterior ให้จัดท่านอนคว่ำ
อยู่ด้านซ้ายจัดท่านอนตะแครงขวา อยู่ด้านขวาจัดท่าตะแครงซ้าย
อยู่ส่วนหน้า Anterior จัดท่านอนหงาย
อยู่ส่วนบนนอนหัวสูง อยู่ส่วนล่างนอนหัวต่ำ
การเคาะ ( Percussion )
ทำมือเป็นลักษณะงุ้มใช้อุ้งมือ วางนิ้วชิดติดกันเคาะบริเวณทรวงอกส่วนที่จัดท่า
เคาะก่อนรับประทานอาหาร ขณะรับประทานอาหาร หรือหลังรับประทานอาหารอย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการสำลักและอาเจียน แต่ละท่าใช้เวลา 1 นาทีในการเคาะ
การสั่นสะเทือน ( Vibration )
ใช้มือวางพร้อมเกร็งกล้าเนื้อบริเวณต้นแขน หัวไหล่ ในจังหวะการหายใจเข้าเต็มที่ และหายใจออก
การสอนไออย่างมีประสิทธิภาพ ( Effective cough )
หายใจเข้าเต็มที่ช้า กลั้นไว้สักพักแล้วไอออกมาเร็วและแรง
นางสาวอรณา สุทธิเชษฐ์ รุ่น 36/2 เลขที่ 57 รหัสนักศึกษา 612001138