Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิตามิน, ชื่อ-สกุล - Coggle Diagram
วิตามิน
เกลือแร่
สารอาหารอนินทรีย์ที่ร่างกายขาดไม่ได้
พบในร่างกายประมาณ 20 ชนิด
หน้าที่ของเกลือแร่
1.เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อ กระดูก ฟัน
2.เป็ํนส่วนประกอบของโปรตีน ฮอร์ โมน เอมไซม์
3.ควบคุมความเป็นกรด-เบส
ควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
เร่งปกิกิริยา
แร่ธาตุที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ -โลหะหนัก Pb Hg Cd
สมบัติที่สำคัญของเกลือแร่
ละลายน้ำ
วิตามินที่ละลายน้ำได้ Water soluble vitamins
ละลายน้ำได้ ทำให้ไม่สะสมในร่่างกาย และกำจัดโดยไต
วิตามิน B-คอมแพล็กซ์
ไทอามีน (thiamine;B1)
การขาดไทอามีน
ท าให้เกิดอาการโรคเหน็บชา (beriberi)
จ ำเป็นสำหรับสัตว์มีกระดูกสันหลังและจุลินทรีย์บางชนิด
ถ้าขาดท าให้คนเป็นโรคเหน็บชา สัตว์เส้นประสาทอักเสบ
ประกอบด้วยวงแหวน ไพริมิดีนและไทอาโซล ต่อกันด้วยพันธะเมทิลลิน
ไรโบเฟลวิน (riboflavin -B2)
เป็นผลึกรูปเข็มสีเหลืองปนแสด ทนต่อความร้อนและกรด
เสียง่ายเมื่อถูกเบส แสงสว่างและ UV
ทำหน้าที่เป็นโคเอนไซม์ของปฏิกิริยาออกซิเดชัน
การขาดวิตามิน B2
ปากนกกระจอก
ระคายเคืองตา ตาสู้แสงไม่ได้ มองเห็นไม่ชัด เพราะมีเส้นเลือดฝอย เกิดขึ้นที่
กระจกตา
กรดนิโคทินิก (niacin) B3
ผลึกรูปเข็มสีขาว ทนความร้อน กรด เบส แสงสว่าง
เป็นส่วนประกอบของโคเอนไซม์ NAD+และ NADP+ที่ท าหน้าที่ขนส่งไฮโดรเจนและอิเล็กตรอน
ถูกดูดซึมง่ายที่ลำไส้เล็ก
การขาดวิตามิน B3
เกิดโรค pellagra มีอาการท้องเดิน อาการทางประสาท ซึมเศร้า
นอนไม่หลับ สับสน ผิวหนังถูกแดดเป็นสีแดงคล ้า
กรดแพนโทเทนิก (pantothenic acid -B5)
มีซัลเฟอร์เป็นองค์ประกอบ
สังเคราะห์ในพืชและแบคทีเรียในลำไส้
เป็นน้ำมันสีเหลืองอ่อน
เสียง่ายเมื่อถูกความร้อน กรด เบส
ไพริดอกซีน (pyridoxine B6)
มีอนุพันธ์ 2 ชนิด คือ ไพรอดอกซอล ไพริดอกซามีน
การขาดวิตามิน B6
พบน้อยมาก นอกจากคนที่เป็นโรคขาดสารอาหาร หรือได้รับสารต้านและเด็กที่
ดื่มนมที่ถูกความร้อนมากเกินไป
อาการอ่อนเพลีย เวียนศรีษะ คลื่นไส้อาเจียน ปากนกกระจอก
ไบโอทิน (biotin B7)
แหล่งที่พบ ได้แก่ ไข่แดง นม แป้งถั่วเหลือง เนย ถั่วลิสง ข้าวที่ไม่ผ่านการขัดสี
มีมากในเนื้อสัตว์ ตับ ส่วนใหญ่ได้รับจากแบคทีเรียในล าไส้
โคบาลามีน (cobalamin ฺB12)
การกระตุ้นการเจริญเติบโตในเด็ก เพิ่มความอยากอาหาร
การขาด B12 ส่งผลต่อระบบประสาท มึนงง
ความจำสั้น สมาธิสั้น
ความจำเสื่อม
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หายใจสั้น ใจสั่น
วิตามิน C
ผลึกสีขาว รสเปรี้ยว ละลายนำ้ได้ดี เป็นกรด
การขาดวิตามิน C
เกิดโรคลักปิดลักเปิด(scurvy) พบมากในคนชราและเด็กเล็ก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เลือดออกตามลายฟัน ฟันโยก ปวดเหงือก โลหิตจาง
เสียชีวิต
ได้รับมากอาจเกิดนิ่วในไต รบกวนการวิเคราะห์เลือดและปัสสาวะ
หน้าที่ของวิตามิน C
สังเคราะห์และรักษาเนื้อเยื่อ ซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ป้องกันและรักษาไข้หวัด
ช่วยในการสังเคราะห์ carnitine , neurotransmitters , collagen
ดูดซึมเหล็ก ขนส่งเหล็กไปยังตับ ม้าม ไขกระดูก เปลี่ยน Fe3+เป็น Fe2+
วิตามินที่ละลายน้ำในไขมัน fat soluble vitamins
ทนความร้อนได้ ละลายในไขมัน ดูดซึมพร้อมอาหารจำพวกไขมัน
วิตามิน ดี
หน้าที่ของวิตามิน ดี
กระตุ้นการดูดซึมแคลเซียมและฟอสเฟตจากหลอดไต
ช่วยร่างกายในการสร้างกระดูกและฟัน
ร่วมกับฮอร์โมนพาราไทรอยด์ในการรักษาระดับแคลเซียมในเลือด
การขาดวิตามินดี
ท าให้ร่างกายขาดแคลเซียมและฟอสฟอรัสในการสร้างกระดูก
เกิดโรคกระดูกอ่อน(กระดูกพรุน)ในเด็ก และกระดูกเปราะ(กระดูกน่วม)ในผู้ใหญ่
เสี่ยงต่อโรคมะเร็งล าไส้ใหญ่ เต้านม ต่อมลูกหมาก
ร่างกายขาด Mg หรือ Ca ท าให้ดูดซึมวิตามินดี ได้น้อยลง
วิตามิน อี
เป็นสารพวกแอลกอฮอล์ไม่อิ่มตัว
ดูดซึมได้ดีในลำไส้เล็ก
เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ(antioxidant)
วิตามิน เค
เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือด
เป็นน้ำมันสีเหลือง ทนความร้อน ทนต่อความเป็นกรด
ที่สำคัญมี 3 ชนิด คือ
ที่สำคัญมี 3 ชนิด คือ
K2(menoquinone) แบคทีเรียในล าไส้สังเคราะห์ได้
K3 (mendadione) สังเคราะห์ขึ้นใช้ส าหรับรักษาคนไข้ที่ไม่สามารถใช้วิตามินเคที่สร้างขึ้นที่
ลำไส้ได้
K1(phylloquinone) พบในผักสีเขียว
การขาดวิตามิน เค
เกิดโรคเลือดไหลไม่หยุด
การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาซัลฟากัวนิดีน หรือตับอักเสบ
ทารกเกิดใหม่พบบ่อย เพราะแบคทีเรียในล าไส้น้อย ในนมมีน้อย
วิตามิน เอ
พบมากในผักและผลไม้โดยเฉพาะที่มีรงควัตถุสีเหลือง ในผักสีเขียวจัด
ผักผลไม้สีส้มสีเหลือง เช่น ต าลึง แครอท ชะอม มะละกอ
จะถูกเปลี่ยนเป็นเรตินาลที่ผนังล าไส้เล็ก
หน้าที่ของวิตามิน เอ
การมองเห็น เกี่ยวข้องกับเซลล์รับภาพจอตา (ratina)
รักษาความคงสภาพของเนื้อเยื่อบุผิว
การเจริญและการเปลี่ยนสภาพของเซลล์ โดยเรตินอล กรดเรติโน-อิก ป้องกันเซลล์ เติบโตผิดปกติ ป้องกันการเกิดมะเร็ง
ต้านออกซิเดชัน(antioxidant) บีตา แคโรทีน ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง ปอดในผู้สูบบุหรี่
ความต้องการวิตามิน เอ
เรตินอลพบมากใน ตับ ไข่แดง น ้ามันปลา นม
ร่างกายต้องการวิตามินเอ(retinol) วันละ 1 มก.
ภาวการณ์ขาดวิตามิน เอ
เกิดในคนที่ภาวะโภชนาการไม่ดี หรือระบบดูดซึมอาหารผิดปกติ
ระยะแรก สูญเสียความไวต่อแสงสีเขียว และเกิดโรคตาบอดกลางคืน
ระยะยาว เยื่อตาขาวและกระจกตาแห้ง เลือดออกในตา ตาบอด
เกิดโรคโลหิตจาง (aniamia)
ชื่อ-สกุล
นางสาวปทุมพร เอราวรรณ์
รหัสนักศึกษา622801038
เลขที่37