Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
บทที่ 8
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
อัตราการหายใจของเด็กในแต่ละวัย
ต่ำกว่า 2 เดือน ไม่เกิน 60 ครั้ง/นาที
2-12 เดือน ไม่เกิน 50 ครั้ง/นาที
1-5 ปี ไม่เกิน 40 ครั้ง/นาที
O2 มากกว่า 95-100%
ศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
ลักษณะการหายใจ หายใจมีเสียงดังคล้ายเสียงคราง(stridor)
อัตราการหายใจเร็วกว่าปกติ(tachypnea)
หายใจช้ากว่าปกติ(bradypnea)
หายใจลำบาก(dypnea)
การหายใจปีกจมูกบาน(nasal flaring)
เพื่อช่วยขยายท่อทางเดินหายใจให้อากาศที่หายใจเข้าเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เสียงหายใจผิดปกติ
stridor sound
มีการตีบแคบของบริเวณกล่องเสียงหรือหลอดลม
ได้ยินตอนหายใจเข้าและออก
ระดับเสียงสูงและมีลักษณะเสียงคราง อาจได้ยินติดต่อกัน
พบในเด็กที่croup ได้แก่ acute laryngitis, laryngotracheitis และ
laryngotrachebronchitis
crepitation sound
เกิดจากลมผ่านท่อทางเดินหายใจที่มีน้ำหรือเสมหะ
พบได้ในภาวะปอดอักเสบ (pneumonia)
rhonchi sound
เสียงที่วนในอากาศเข้าไปในส่วนของทางเดินหายใจ ที่ตีบแคบกว่าปกติ
เกิดจากเสมหะอุดตันเยื่อบุทางเดินหายใจบวม หลอดลมบีบเกร็งจากภาวะภูมิแพ้
wheezing
เสียงที่มีความถี่สูงหรือเสียงหวีด
ได้ยินชัดช่วงหายใจออกเกิดจากหลอดลมเล็กๆหรือหลอดเลือดฝอยเกิดการบีบเกร็ง
พบในโรคหอบหืด(bronchial asthma)
กลไกการสร้างเสมหะ
กระบวนการสร้างสารมูก Mucous
การพัดโบกของขนกวัด Cilia
และกลไกการไอ Cough Reflex
เมื่อมีการติดเชื้อ
ต่อมสร้างสารคัดหลั่ง(mucus gland) สร้างmucousเพิ่ม ทำให้เสมหะเพิ่ม
มีการทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดลมและทำลาย Cilia และจำนาน ciliaลดลง
ciliaลดลง คือเสมหะมีปริมาณมากและเหนียวข้น จะไม่พัดพาออกจากทางเดินหายใจ
การไออย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยป้องกันการคั่งค้างของเสมหะ
การดูแล
ได้รับสารน้ำที่เพียงพอ ช่วยให้ความชุ่มชื้นกับทางเดินหายใจ เสมหะเหนียวข้นน้อยลง
Cilia ทำหน้าที่โบกพัดได้ดีขึ้น ให้ไอขับเสมหะได้ดีขึ้น
ลักษณะของเสมหะ
เสมหะเหนียว
คล้ายแป้งเปียกอยู่กันเป็นก้อน มีความหนืดมาก
มีการไอออกมายากจากเสมหะเหนียวข้น
ควรได้รับสารน้ำที่เพียงพอ
เสมหะไม่เหนียว
ลักษณะเป็นเมือกเหนียว ความยืดและความหนืดน้อย ไม่เป็นก้อน
ทำให้ผู้ป่วยไอออกมาง่าย
Croup
สาเหตุ
ฝาปิดกล่องเสียง(acute epiglottitis)
กล่องเสียง (acute laryngitis)
กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ และหลอดลม
ฝอยในปอด (Laryngotracheobronchitis)
virus
Bacteria
H.influenzae ,S.pneumoniae
gr.A Streptococus
อาการ
inspiratory stridor หายใจเข้ามีเสียงฮืด
ไอเสียงก้องBarking cough
ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบาก Dyspnea
อาการน้ำลายไหล(drooling)
ไม่ตอบสนองต่อการพ่นยาทั่วไป
Tonsilitis / Pharyngitis
สาเหต
Beta Hemolytic streptococcus gr. A
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ
มีตุ่มใสหรือแผลตื้นที่คอหอย เกิดจากCoxsackie
Virus เรียกว่า Herpangina
แนะนำให้กินยา Antibiotic ให้ครบ 10 วัน ป้องกันไข้รูห์มาติค และหัวใจรูห์มาติค หรือ กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน AGN
การผ่าตัดต่อมทอนซิล(tonsillectomy)
มีไข้ เจ็บคอเวลากลืนหรือกลืนลำบากเรื้อรัง หรือเป็นๆหายๆ
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้นอนกรนหรือมีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
การดูแลหลังผ่าตัดTonsillectomy
หลังผ่าตัดให้เด็กนอนตะแคงด้านใดด้านหนึ่งเพื่อระบายเสมหะ
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด อาการเลือดออก
เด็กรู้สึกตัวดีให้อยู่ในท่ารั่ง 1-2 ชั่วโมง อมน้ำแข็งก้อนเล็กๆ รับประทานอาหารเหลว วางกระเป๋าน้ำร้อนรอบๆคอ ถ้าปวดมากให้ยาแก้ปวด
หลังผ่าตัด
สามารถกลับบ้านได้ 24-28 ชั่วโมงแรกหากไม่มีอาการแทรกซ้อนอาจมีแผลหลังผ่าตัดทำให้รับประทานอาการไม่สะดวก น้ำหนักลด มีน้ำลายปนเลือดเล็กน้อย
อาจมีอาการไข้ บวม ตึง คล้ายมีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในลำคอหรือมีเสียงเปลี่ยนไป
หลังป่าตัด 1-2 วันแรก ผนังในคออาจบวมมากขึ้นได้ ทำให้หายใจอึดอัด ไม่สะดวก ดังนั้นควรต้องนอนหัวสูง อมหรือประคบน้ำแข็งบ่อยๆ
หลีกเลี่ยงการแปลงฟันเข้าไปในปากลึกๆ
ประคบหรืออมน้ำแข็งประมาณ 10 นาที
รับประทานอาหารอ่อน
ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)
สาเหตุ
เมื่อเกิดการติดเชื้อทำให้เกิดการบวมของเยื่อบุโพรงอากาศ
เกิดภาวะอุดตันช่องระบายโพรงอากาศข้างจมูก(osteomeatal complex)ทำให้เกิดการคั้งของการคัดหลั่ง
ความดันดพรงอากาศเป็นลบ
cilia ผิดปกติ ร่วมกับมีสารคัดหลั่งออกมามากหรือมีความหนืด
ระยะของโรค
Acute sinusitis ระยะของโรคไม่เกิน 12 สัปดาห์
Chronic sinusitis อาการจะต่อเนื่องไม่เกิน 12 สัปดาห์
อาการ
ไข้สูงมากกว่า 39 ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยมีน้ำมูกไหล ไอ
อาการรุนแรง น้ำมูกใสหรือข้นเป็นหนอง ไอ ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น
การวินิจฉัย
X-ray paranasal sinus
CT scan
การตรวจด้วยการส่องไฟผ่าน(Transilumination) พบว่าไซนัสที่มีการอักเสบจะมี ลักษณะมัว
การดูแลรักษา
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ให้ยาแก้ปวด ลดไข้ เพื่อดลไข้และบรรเทาอาการปวดศีรษะ
ให้ยาแก้แพ้ ใช้ในรายที่เป็นไซนัสอักเสบ
ให้ยาSteroid เพื่อลดอาการบวม ลดการคั่งของเลือดที่จนูก
การล้างจมูก
ทำให้โพรงจรูกสะอาด ป้องกันการลุกลามของเชื้อโรคจากจมูกและไซนัสไปยังจมูก
ช่วยลดจำนวนเชื้อโรค และให้ความชุ่มชื้น บรรเทาอาการคัดจมูก หายใจโล่ง
หอบหืด Asthma
พยาธิสภาพ
ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัว(Brochospasm)
ทำให้หลอดลมตีบแคบลง (Stenosis) เยื่อบุภายในหลอดลมบวมขึ้น
สร้างเมือกเหนียวจ านวนมาก (Hypersecretion) ทำให้ช่องทางเดินอากาศแคบลง ทำให้เกิดอาการหอบหืด
พยาธิสภาพที่ 3 มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ
ให้ได้รับยาขยายหลอดลม ได้รับออกซิเจนที่เพียงพอ
ที่อายุ 1 -2 ปีโรคหอบหืด มักติดเชื้อไวรัส เด็กไวเรียนมีประวัติภูมิแพ้
อาการ
หวัด ไอ มีเสมหะ อาจทีเสียงWheezingช่วงหายใจออก เมื่อร่างกายขาดออกซิเจนมากขึ้น มีอาการหอบมาก ปากเขียว ใจสั่น
บางคนไออย่างเดียว มีอาการอาเจียน อาการไอจะดีขึ้น หลังจากที่อาเจียนเอาเสมหะเหนียวออกมา
ความรุนแรง
เล็กน้อย - เริ่มไอ มีเสียงหวีด ยังเล่น รับประทานข้าว นอนได้อย่างปกติ
ปานกลาง - ตื่นตอนดึกบ่อย วิ่งเล่นซนไม่ค่อยได้ ขณะเล่นอาจมีการไอ หรือมีเสียงWheezing
รุนแรง - กระสับกระส่ายจนนอนไม่ได้ เหนื่อยหอบจนพูดหรือกินอาหารไม่ได้ รอบริมฝีปากเป็นสีเขียว
การรักษา
ยาขยายหลอดลม ( Relievers )
ยาพ่น ช่วยให้หายใจโล่ง เพราะไปขยายกล้ามเนื้อเล็กๆ ที่อยู่ภายในหลอดลมที่หดเกร็งใช้เมื่อปรากฎอาการหอบหืด ได้แก่่ventolin
ยาพ่นCorticosteroids ได้แก่Flixotide Evohaler (Fluticasone propionate 250 microgram) Serotide ดูแลให้บ้านปากทุกครั้ง เพื่อป้องกันเชื้อรา
ยาลดการบวม และการอักเสบของหลอดลม (Steroid) ควรใช้ระยะเวลาสั้นๆ 3-5 วัน การให้ยาจะไม่มีผลต่อเด็ก ได้แก่่Dexa , Hydrocortisone
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ควันบุหรี่ เป็นตัวกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการหอบหืด
ตัวไรฝุ่น
ไม่ควรมีตุ๊กตาที่มีขนในห้องนอน ไม่ใช้พรมในที่นอน
หมอน ผ้าปูที่นอน ผ้าห่ม ควรทำความสะอาดอาทิตย์ละ 1 ครั้ง
ไม่นำสัตว์เลี้ยงขึ้นที่นอน
อากาศเย็น ซึ่งจะมีผลต่อการโบกพัดของCilia
หลอดลมอักเสบ( Bronchitis)
หลอดลมฝอยอักเสบ(Bronchiolitis)
ปัญหาติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างที่พบบ่อยในเด็กเล็ก
มีการอักเสบและอุดกั้นของหลอดลม
เชื้อที่พยบ่อยRespiratory syncytial virus : RSV
พบมากในเด็กที่ไม่ได้กินนมแม่
พบบ่อยในเด็กอายุ 6 เดือน
กลไก
เชื้อไวรัส ทำลายเนื้อเยื่อของหลอดลมฝอย
มีอาการอักเสบ บวม และมีการคั่งของเสมหะ
เกิดการอุดกั้นของหลอดลมฝอย ผลที่ตามมาเกิดAtelectasis
อาการ
ไข้หวัดเล็กน้อย น้ำมูกใส จาม เบื่ออาหาร
ไอเป็นชุดๆ ร้องกวน หายใจเร็ว หอบ หายใจมีปีกจมูกบาน ดูดนมได้น้อยหรือไม่ได้เลย
การรักษา
ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ ยาต้านการอักเสบ
(Corticosteroid ) ยาขยายหลอดลม
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนให้เพียงพอ ได้รับน้ำ ดูแลไข้ การติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีประโยชน์
ปอดบวม Pneumonia
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม แบคที่เรีย ไวรัส
อาการ
ไข้ ไอ หอบ ดูดน้ำดูดนมน้อยลง ซึม
การรักษา
ดูแลให้ได้รับสารน้ำให้เพียงพอ เพื่อให้เสมหะอ่อนตัว ขับออกง่าย ช่วยลดไข้
Clear airway suction เพื่อการแลกเปลี่ยนแก๊สอย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลปัญหาพร่องออกซิเจน ให้ได้รับยาขยายหลอดลม ยาขับเสมหะ ยาฆ่าเชื้อ
การพยาบาล
ปัญหาการอุดกลั้นทางเดินหายใจ
สอนการไออย่างถูกวิธี กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ
หากเสมหะอยู่ลึกให้้Postural drainage โดยการเคาะปอดและ Suctionเพื่อป้องกันภาวะปอดแฟบ
Postural drainage ช่่วยให้เสมหะที่อยู่ส่วนปลายเลื่อนขึ้นมาส่วนที่ดูดเสมหะ
จัดท่านอนศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนให้เพียงพอ
การระบายเสมหะ
การจัดท่า(Postural drainage)
อยู่ส่วนหน้าAnteriorให้จัดท่านอนหงาย
อยู่ส่วนหลังPosteriorให้จัดท่านอนคว่ำ
อยู่ด้านซ้ายจัดท่านอนตะแคงขวา อยู่ด้านขวาจัดท่านอนตะแคงซ้าย
อยู่ส่วนบนนอนหัวสูง อยู่ส่วนล่างนอนหัวต่ำ
การเคาะ (Percussion)
ใช้อุ้งมือไม่ควรใช้ฝ่ามือ โดยทำมือให้เป็นลักษณะคุ้ม นิ้วแต่ละนิ้วชิดกัน ที่เรียกว่า cupped hand เคาะบริเวณทรวงอกส่วนที่ได้รับการจัดท่า
ใช้ผ้ารองบนส่วนที่จะเคาะ การเคาะแต่ละท่าควรใช้เวลาประมาณ 1 นาที
ควรเคาะก่อนรับประทานอาหาร หรือขณะท้องว่าง หรือหลังรับประทาน อาหารอย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการส าลักและอาเจียน
การสั่นสะเทือน (Vibration)
ช้มือวางราบพร้อมทั้งเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณต้นแขน และหัวไหล่ ใน จังหวะการหายใจเข้าเต็มที่ และกำลังหายใจออก
สั่นสะเทือน (Vibration)ในช่วงนาทีที่ 8.30 เป็นต้นไป
การไออย่างมปีระสิทธิภาพ (Effective cough)
การพ่นยาในเด
ประโยชน์ที่ผู้ป่วยได้รับ
ทำให้เสมหะที่เหนียวอ่อนตัวลง
ง่ายต่อการระบายออกจากปอด
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการไอขับเสมหะได้ง่ายขึ้น
ให้ความชุ่มชื้นแก่อากาศหรือก๊าซที่หายใจเข้า
ข้อปฏิบัตใินการพ่นยาแบบละออง Neubulizer
ควรให้เด็กร้อง เพราะปริมาณยาจะเข้าสู่ปอดน้อยลง
เคาะกระเปาะพ่นยาเป็นระยะๆเพื่อไม่ให้ยาตกค้างในกระเปาะมาก เกินไป พ่นจนกว่ายาจะหมด ใช้เวลา 10 นาที
ถ้าไม่เห็นละอองยา หรือละอองยาออกไม่หนาแน่นเท่าที่ควร จะต้องสำรวจเครื่องพ่นยาทำงานหรือไม่ ช่วงรอยต่อหลุดหรือไม่
ออกซิเจนเปิด 6 – 8 ลิตรต่อนาที
face mask
เหมาะกับผู้ป่วยที่ต้องการออกซิเจนในระดับปานกลาง ความเข้มข้นของ ออกซิเจนประมาณ 35%-50%
เปิดออกซิเจน flow rate 5-10 lit/min ไม่ควรให้น้อยกว่า 5 lit/min
ป้องกันการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ในmask ที่เกิดขึ้นในขณะที่ ผู้ป่วยหายใจออก
Nasal cannula
ความเข้มข้นไม่สูงมาก ในเด็กเล็กจะปรับอัตรา การไหลไม่เกิน 2 lit/mim ส่วนในเด็กโตจะปรับที่ 2 lit/mim
ไม่ควรปรับการไหลของออกซิเจนที่สูงเกินไป เพื่อจะทำให้เยื่อจมูกแห้ง และเกิดการระคายเคืองได้
Oxygen hood/Box
ความเข้มข้นของออกซีเจนประมาณ 30%-70%
ควรเปิดออกซิเจนอย่างน้อย 7 lit/min เพื่อป้องกันการคั่งของกาซคาร์บอนไดออกไซด์