Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.3-5.5, นางสาวโสรดา เลบ้านเเท่น เลขที่ 114 รหัส 602701115…
บทที่ 5.3-5.5
5.4 ความผิดปกติของการหายใจ
การเปลี่ยนแปลงทางานของปอดในระยะตั้งครรภ์
โปรเจสเตอโรนเพิ่มขึ้นตอบสนองcentral chemoreceptor ไวขึ้นอัตราการหายใจเพิ่มขึ้นCO 2 เพิ่มขึ้นPCO 2 ในหลอดเลือดแดงลดลง
ขับ bicarbonate ทางไตเพิ่มเกิด respiratory alkalosis respiratoryขับปัสสาวะมากขึ้นระดับของ PCO 2และ pH จึงจะปกติ
หอบหืดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
มีอาการไอเรื้อรัง (มากกว่า 8สัปดาห์)
หายใจลาบากหรือแน่นหน้าอก หายใจมีเสียง wheezing wheezing wheezing เหงื่อออกมาก
หายใจเร็วมากกว่า 35 ครั้ง/นาที ชีพจรเร็วมากกว่า 120 ครั้ง/นาที
1.จากการซักประวัติ อาการและอาการแสดง
2.การตรวจร่างกาย จะได้ยินเสียง Wheezing หรือ Rhonchi
3.ตรวจเสมหะยอมเชื้อ ตรวจเอกซ์เรย์ทรวงอก
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ด้านทารก
คลอดก่อนหนด
น้าหนักตัวน้อย
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ตายปริกาเนิด
ด้านมารดา
ความดันโลหิตสูงขณะ
ตั้งครรภ์
ตกเลือด
asthmatic attack asthmatic
การพยาบาล
ระยะคลอด
จัดท่านอนศีรษะสูง
ดุแลให้ออกซิเจนเมื่อหอบ
รับยาตามแผนการรักษา
ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ
ระยะตั้งครรภ์
ฝากครรภ์ตามนัด
หลีกเลี่ยงอากาศเย็นหรือร้อน
รับประทานยาตามแผนการรักษา
นับและบันทึกลูกดิ้น
รับประทานอาหารเน้นโปรตีน
ระยะหลังคลอด
ได้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างต่อเนื่อง
เน้นการป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค
กระบังลมจะถูกมดลูกดันให้เลื่อนสูงขึ้น
ทรวงอกมีการขยายทางด้านกล้างเส้น
ผ่านศูนย์กลางทรวงอกเพิ่ม 2 ซม
อายุครรภ์ 24 wk . จะเปลี่ยนจากการใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องเป็นกล้ามเนื้อหน้าอกTotal body oxygen consumption ร้อยละ 20
วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
มีอาการไอ ซึ่งในระยะแรกจะไอแห้งๆต่อมาจึงมีเสมหะลักษณะเป็นมูกปนหนองจะไอมากขึ้นเวลาเข้านอนหรือตื่นนอนตอนเช้า
อาการไอมักจะเรื้อรังนากว่า 3สัปดาห์
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้านักตัวค่อยๆลดลง
มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติอาการและอาการแสดง
2.Tuberculin skin test Tuberculin ซึ่งวิธีนี้ไม่แนะนาให้ใช้ตรวจในหญิงตั้งครรภ์และหญิงที่ให้นมบุตร
3.X-ray ปอด
การส่งตรวจเสมหะ
การพยาบาล
ระยะคลอด
ดูแลให้อยู่ในห้องแยก ให้ผู้คลอดพักผ่อนให้เพียงพอ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และความก้าวหน้าของการคลอด
ระยะหลังคลอด
แยกทารกออกจากมารดาจนการเพาะเชื้อจากเสมหะของมารดาได้ผลลบ
-ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ Tuberculin skin test เมื่อแรกเกิด พร้อมกับให้ยา INH INH และ rifampicin rifampicin rifampicin ทันทีหลังคลอด
ทารกได้รับการฉีด BCG เพื่อป้องกันวัณโรคชนิดแพร่กระจาบหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
แนะนารับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์ ใช้ยาสูตร 2HRZE/ 4HR
แนะนารับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เน้นปลา นม ไข่ เพิ่มอาหารที่มีธาตุเหล็ก
จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
สวมผ้าปิดปากป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไม่ไอจาม รดผู้อื่น
ฝากครรภ์ตามนัดเพื่อประเมินการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
โรคติดเชื้อโคโรน่า (Covid -19 )
กลุ่มปกติ
ใช้หลักการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้ออย่างเคร่งครัด
หลีกเลี่ยงการสัมผัส
รักษาระยะห่าง
เลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่
งดใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้าสะอาดนาน 20 วินาที
ไอจาม ปิดปาก
ถ้ามีอาการไข้ไอเจ็บคอ หายใจเหนื่อยรีบไปพบแพทย์
ฝากครรภ์ตามนัด
กลุ่มเสี่ยง
แยกกังตัวสังเกตอาการ 14 วัน
งดออกชุมชน
พิจารณาเลื่อนการฝากครรภ์ หากอยู่ในกาหนดกักตัว
กรณีเจ็บครรภ์คลอดต้องไปโรงพยาบาลทันที และแจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบ
การรักษาด้วยFavipiravir
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน
โรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
(Gestational diabetes mellitus, GDM)
Gestational diabetes mellitus
(GDM )
GDM A -1 fasting plasma glucose น้อยกว่า 105 mg/dl 2-hour post prandial glucose น้อยกว่า120 mg/
GDM A -2 fasting plasma glucose มากกว่า 105 mg/dl 2-hour post prandial glucose มากกว่า120 mg/dl
ความผิดปกติของความคงทนต่อน้าตาลกลูโคส
ตรวจพบครั้งแรกระหว่างการตั้งครรภ์
Overt Diabetes mellitus
เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์
ก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์
Type II diabetes or NonInsulin dependent diabetes mellitus
Type I diabetes or Insulin dependent diabetes mellitus
การคัดกรองขณะตั้งครรภ์
การประเมินภาวะเสี่ยง
คลอดผิดปกติ
อายุมากกว่า35 ปี
Hx.DM
ครอบครัว
Urine :Trace Urine
2.Glucose challenge test
Glucose 50 g. 1 ชม.
-Plasma glucose > 140 มก./ดลส่ง OGTT
-140-199mg/dl นัด1 wk . มาตรวจDM
-200mg/dl = GDM
พยาธิสภาพ
พลังงานไม่เพียงพอเซลล์จึง oxidize ไขมันและโปรตีนเกิดภาวะketosis
ไม่สามารถเปลี่ยนกลูโคสในเลือดให้เป็นไกลโคเจนเกิดการสะสมของน้าตาลในเลือด
รกสร้าง HPL ยับยั้งการทาหน้าที่ของ insulin ตับอ่อนผลิตอินซูลินได้ไม่เพียงพอ
เมื่อระดับน้าตาลในเลือดมีมากเกินปกติก็จะถูกไตขับออกมาในปัสสาวะ จึงเรียกว่าเบาหวานในขณะตั้งครรภ์
ระดับของ Insulin, Glucagon เปลี่ยนแปลง ทารกมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการเกิดความต้องการ Glucose เพิ่มขึ้น
ผลกระทบของโรคเบาหวาน
ผลต่อมารดา
Diabetic retinopathy
Polyhydramnios
Dystocia
Postpartum hemorrhage
Diabetic nephropathy
Infection
Preterm birth
ผลต่อทารก
Abortion
Malformation
Fetal death or stillbirth
Macrosomia
IUGR
ผลต่อทารกแรกเกิด
Hyperbilirubinemia
Polycythemia
Hypertrophic and congestive cardiomyopathy
Inheritance of diabetes
Neonatal hypocalcemia
Neonatal hypoglycemia
Respiratory distress syndrome
การดูแลรักษา
ระยะตั้งครรภ์
ควบคุมอาหาร(C: 55 %, F: 25 %, P: %, P: 20 %)
งดอาหารน้าตาล
การใช้ Insulin
ควบคุมน้าหนัก
ความสะอาดของร่างกาย
การสังเกตเด็กดิ้น
การสังเกตภาวะแทรกซ้อน
ระยะคลอด
. การกาหนดเวลาคลอด
การใช้ Insulin
IV fluid . IV fluid
การคลอดตามข้อบ่งชี้
ก่อนการตั้งครรภ์
การให้คาปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
การเสริมวิตามิน
การประเมินพยาธิสภาพ
การควบคุมระดับกลูโคส
การออกกาลังกาย
ระยะหลังคลอด
ควบคุมระดับน้ำตำล
ภำวะแทรกซ้อน
กำรดูแลทั่วไป
Breast feeding .
กำรคุมกำเนิด
กำรดูแลทำรก
Hyperthyroidism
ผลกระทบต่อมารดา
แท้งและคลอดก่อนกาหนด
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกาหนด
อาการและอาการแสดง
difficulty in sleeping
hand tremors
hair loss
:menstrual problems
swollen eyes
weight loss
irregular heart rate
elevated blood presser
nervourness
feeling hungry
ผลกระทบต่อต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กาเนิด
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กาเนิด
Thyroid stimulating immunoglobulin antibody
สาเหตุ
Graves
Toxic adenoma
Plummer ’s disease s disease
แนวทางการรักษา
การให้ยา
Propylthiouracil (PTU)100 -150 mg/day
Methimazole
Adrenergic blocking agent (Inderal)
Radioiodine therapy
การผ่าตัด
ภาวะฉุกเฉิน: Thyroid storm :
ไข้ 38.5 องศาเซลเซียส หลังจากการคลอดหรือการผ่าตัดคลอด2-3ชั่วโมง
หัวใจเต้นเร็ว ชีพจร 140ครั้ง/นาที
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย
สับสน ชัก จนหมดสติ
กิจกรรมการพยาบาล
ระยะคลอด
ระยะที่ 1 ของการคลอด
จัดท่า Fowler ’s position s position s position
อาการใจสั่น หายใจไม่สะดวก
วัดสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ยาระงับปวด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพของทารกในครรภ์
ระยะที่ 2 ของการคลอด
ประเมินสัญญาณชีพทุก 10 นาที
ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5นาที
หลังคลอดฉีด Syntocinon Syntocinon
ห้ามใช้ยา methergin
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายเกี่ยวกับโรค
แนะนาการปฏิบัติตัว
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติอารมณืที่เปลี่ยนแปลง
หลังคลอด
แนะนาการปฏิบัติตัวหลังคลอด : การป้องกันการติดเชื้อ
24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด :อาการหายใจไม่สะดวก
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง เหนื่อย อ่อนเพลีย ใจสั่น
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ให้พักผ่อนช่วยเหลือกิจกรรม
ดูแลให้ได้รับยาลดการทางานของต่อมไทรอยด์ เช่น PTU
ให้นมบุตรได้ ยกเว้นมีภาวะผิดปกติของหัวใจและหลอดโลหิต
การวางแผนครอบครัว
ประเมินสภพทารก
Hypothyroidism ,
การวินิจฉัย
การตรวจ
T ต่า DTR ช้า
ระดับ FT 4ต่าระดับTSH จะสูง
ประวัติ
การรักษามาก่อน
การใช้ยาlithium lithium lithium
อาการ
นน.เพิ่ม
ทนเย็นไม่ได้
เบื่ออาหาร
ผมร่วง เล็บเปราะ เสียงแหบ
ผิวแห้งกร้าน
สาเหตุ
มีการทาลายเนื้อต่อมไทรอยด์
จากการรักษาผ่าตัดหรือจากสารรังสีรักษา
จากการขาดไอโอดีน
แนวทางการรักษา
Levothyroxine (T4)ขนาด 100-200 g/ วัน
วันละครั้ง นาน 3 สัปดาห์ ซึ่งยาไม่ผ่านรก
ปรับขนาดยาตามระดับ TSH , T TSH , T TSH , T4
ติดตามการทางานของต่อมไทรอยด์ทุกไตรมาส
ผลของภาวะต่อมไทรอยด์ทางานน้อยต่อการตั้งครรภ์
ต่อมารดา
แท้ง
คลอดก่อนกาหนด
ทารกตายในครรภ์
ความดันโลหิตสูง
รกลอกตัวก่อนกาหนด
ตกเลือดหลังคลอด
ต่อทารก
ทารกมีความบกพร่องในการพัฒนาสมอง
Cretinism Cretinism
5.5 ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค
ไต
T1 : ไตด้านขวาถูกกดเบียดจากมดลูกทาให้มีขนาดโตกว่าด้านซ้าย
: โปรเจสเตอโรนทาให้มีการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ
: ความตึงตัวลดลงปริมาณปัสสาวะเหลือค้างมากขึ้น
: กลูโคสพบในปัสสาวะมากขึ้นสะสมเชื้อแบคทีเรีย
T2 : Renal plasma flow : Renal plasma flow เพิ่มขึ้น อัตราการกรองเพิ่มขึ้นพบ
กลูโคสปนออกมาในปัสสาวะ
T3 : การไหลเวียนเลือดในไตและอัตราการกรองการขับน้าลดลง
เนื่องจากมดลูกกด Iliac vein
กระเพาะปัสสาวะ
T1 : มดลูกมีการกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
T3 : ส่วนนาเคลื่อนต่ากดเบียดกระเพาะปัสสาวะมีการคั่งของเลือด เกิดการบวมของท่อและกระเพาะปัสสาวะ
อาการแสดงจากการเปลี่ยนแปลงการทางาน
อาการปัสสาวะบ่อย
creatinine creatinine ลดลงอยู่ที่ 0.5 mg/dl
BUN อยู่ที่ 8-10 mg/dl
ไตและท่อไตมีขนาดใหญ่
Urinary trac infections
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรียที่บริเวณลาไส้หรือบริเวณผิวหนังรอบๆทวารหนักและช่องคลอด
เพศสัมพันธ์ทาให้เกิดการช้าเล็กน้อยบริเวณท่อปัสสาวะ
ระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนที่เพิ่มขึ้นทาให้เกิดการคลายตัว
ภาวะแทรกซ้อน
Premature labour nsion
Abortion
Septic shock
Low birth weight Low birth weight
Chronicpyelonephritis Chronicpyelonephritis
Anemia
Hypertension
รกลอกตัวก่อนกาหนด
Cystitis
อาการเเสดง
ปัสสาวะแสบขัด (dysuria dysuria )
ปัสสาวะขุ่น (turbid urine )
Suprapubic pain
WBC RED สูงมากกว่า 8 เซลล์ต่อ
การรักษา
รักษาเหมือนกับ Asymtomatic
Ampicillin 500 mg
Amoxycillin 500 mg
Pyelonephritis
อาการเเสดง
ติดเชื้อแบคทีเรียพบมากที่สุด คือ E-coli
การอักเสบทาให้หน้าที่ของไตลดลง
อาจทาให้เลือดออกที่ไต
ไตอักเสบ ไตวายได้
ไข้สูง หนาวสั่น
ปัสสาวะขุ่น(turbid urine turbid urine )
มึนศีรษะคลื่นไส้ และอาจอาเจียน
แบคทีเรียมากกว่า 100,000 โคโลนี/ลูกบาศก์เซนติเมตร
ปวดบั้นเอวCosto vertebral angle vertebral angle :
การรักษา
คัดกรองสตรีที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก
ตรวจปัสสาวะซ้าGA 32 -34 Wks. Wks.
– Urinalysis, Culture and Urinalysis,
I/O
ยาปฏิชีวนะ
Ampicillin 1-2 กรัม IV ทุก 6 ชั่วโมงร่วมกับ gentamicin 1 มก./กก. ทุก 8 ชั่วโมง
Ceftriazone1-2 กรัม IV ทุก 24 ชั่วโมง
Trimethoprin sulfamethoxazole 160 /800 มก. IV ทุก 12 ชั่วโมง
Aztreonam 1 กรัม IV ทุก 8 ชั่วโมง
Cefazolin 1-2 กรัม IV ทุก 8 ชั่วโมง
นางสาวโสรดา เลบ้านเเท่น เลขที่ 114 รหัส 602701115 ชั้นปีที่4