Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia และการกู้ชีพ, 1, 2 - Coggle Diagram
Birth Asphyxia และการกู้ชีพ
ภาวะขาดออกซิเจนในทารก
หมายถึง ภาวะที่สมองและส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกายขาดออกซิเจน
มีคะแนน Apgar ต่ำ
ทารกมี fetal distress
ภาวะ late deceleration
นํ้ำคร่ำมีขี้เทา
การวินิจฉัย PERINATAL ASPHYXIA
Fetal monitoring
Apgar score น้อยกว่า 6
เจาะถุงน้ำคร่ำ
acidosis
พยาธสรีรวิทยาเมื่อทารกมีภาวะ ASPHYXIA
ขาดออกซิเจน
การหายใจเร็ว
primary apnea
การเต้นของหัวใจจะลดลง
secondary apnea>>PPV
การวินิจฉัยภาวะ ASPHYXIA
Fetal heart rate (FHR)
PH umbilical artery (UA pH)
Apgar scores
meconium ในน้ำคร่ำ
อาการและอาการแสดง
หยุดหายใจ/หายใจเร็ว
bradicardia/bradicardia
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
NRP
5 ขั้นตอน
มารดามีไข้มีความเสี่ยง
neonatal respiratory
depression
neonatal seizure
cerebral palsy
CHEST COMPRESSION
อัตราการเต้นของหัวใจที่น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาทีภายหลังได้รับการช่วยหายใจด้วยออกซิเจนที่เหมาะสม นาน 30 วินาที
ตำแหน่งที่กด
กดบนกระดูกสันอกที่ 1 ส่วน 3 ทางล่างสุดของกระดูกสันอก
แรงกด
กระดูกสันอกยุบลง 1-1.5 ซม
อัตราการกด
สมํ่าเสมอ 90 ครั้ง/นาที
การนวดหัวใจ : การหายใจ = 3 : 1
กดหน้าอกได้ 90 ครั้ง และช่วยหายใจได้ 30 ครั้ง รวมเป็น120ครั้งใน 1 นาที
ใช้เวลาห่างของแต่ละครั้งประมาณ คร่ึ่งวินาที
ประสิทธิภาพการนวดหัวใจ
การคลำ Carotid หรือ femoral pulse
peripheral circulation
ขนาดรูม่านตาควรปานกลางหรือเล็ก
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา
HR <60 ครัง้ /นาที หลังให้ O 2 100% และช่วยนวดหวใจนาน 30 วินาที
ไม่มีการเต้นของหัวใจ
อัตราและขนาดการให้ EPINEPHRINEและNAHCO3epinephrine 0.01-0.03 มก./กก.
การดูแลภายหลัง RESUSCITATION
ติดตามและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
Narcan (Naloxone) (0.4 มก./มล.) ขนาดที่ใช้
0.1 มก./กก.
Glucose ขนาดที่ใช ้ 2 มล./กก./ครั้ง
Mecomium aspiration syndrome
การสำลักเอาขี้เทาที่อยู่ในน้ำคร่ำาเข้าปอดในทารกแรกเกิด
มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกตื้นๆและไม่สม่ำเสมอ
ตั้งแต่อายุประมาณ 24 สปดาห์
ความถี่ประมาณ 30-90 ครั้ง/นาที
อัตราการเคลื่อนไหวจะมีค่าประมาณ
40-60 ครั้ง/นาที
การเคลื่อนไหวนี้จะทำให้ lung fluid ของทารกมี
การเคลื่อนที่ใน tracheobronchial tree
ทารกที่เสี่ยงจะเกิดภาวะนี้
Preterm
น้ำหนักตัวน้อย
คลอดนานทาง Vg
ครรภ์เป็นพิษ
น้ำหนักมากกว่าปกติ
พยาธิสรีรวิทยา
ขี้เทามีขนาดใหฐ่จะอุดตันกลอดลมใหญ่ทำให่ขาดออกซิเจนรุนแรง
สำลักก้อนเล็กๆ เกิดball valve mechanism
เกิดภาวะ pneumo thorax
ขี้เทาที่กระจายอยู่ทั่วๆไปจะทำให้เกิด ภาวะปอดอักเสบ
เลือดเป็นกรด
แรงดันในปอดสูง
อาการแสดง
มักมีประวัติ fetal distress
Apgar score ต่ำ
มีขี้เทาในน้ำคร่ำ
ความรุนแรง
น้อย
ทารกจะหายใจเร็วเพื่อเพิ่ม minute
ventilation
เข้าสู่ภาวะปกติ
อาการจะหายไปภายใน 24 ชั่วโมง
ปานกลาง
มีอาการกดการหายใจ
หายใจเร็ว
ซี่โครงยุบลง
เขียวคล้ำ
อาการจะค่อยๆรุนแรง
มักหายภายใน 4-7 วันหากไม่มีอาการแทรกซ้อน
รุนแรง
หายใจล้มเหลวทันทีหลังคลอด
ฟังเสียงปอดได้ rhonchi และ crackle
อาการขาดออกซิเจนรุนแรง