Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทละครเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง, น.ส.ณัฏฐ์นรี ดีมั่น ม.4/8 เลขที่13…
บทละครเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
บทนำเรื่อง
ผู่แต่ง
พระบามสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ร.2)
จุดมุ่งหมาย
เพื่อใช้ในการแสดงละครใน ซึ่งเป็นละครรำที่ใช้ผู้หญิงแสดง
ความเป็นมา
มีเค้าเรื่องมาจากชวาที่มีชื่อว่า "นิทานปันหยี" ซึ่งไทยรับเรื่องนี้มาตั้งแต่สมัยอยุธยา
ลักษณะคำประพันธ์
เป็นกลอนบทละคร
แต่มีลักษณะบังคับเหมือนกลอนสี่สุภาพแต่ละวรรคมักจะขึ้นต้นด้วยคำ"เมื่อนั้น" และ "มาจะกล่าวบทไป"
ความสุนทรียของงานประพันธ์
ตัวละครที่สำคัญ
1.อิเหนา
-เป็นโอรสของท้าวกุเรปัน เป็นชายรูปงามมีเสน่ห์ นิสัยเจ้าชู้
-มีความเชี่ยวชาญในการใช้กริชและกระบี่กระบองเป็นอาวุธ
2.ท้าวกุเรปัน
-กษัตริย์ผู้ครองกรุงกุเรปันมีน้องชาย 3 องค์ คือ
ท้าวดาหา,ท้าวกาหลังและท้าวสิงหัดส่าหรี
-ทรงหยิ่งทะนงในศักดิ์ศรี
3.ท้าวดาหา
-เป็นกษัตริย์ผู้ครองกรุงดาหา เป็นบิดาของบุษบา
-เป็นผู้ที่มีความยุติธรรมและมีความเด็ดขาด
4.นางบุษบา
-เป็นธิดาของท้าวดาหา
-เมื่อตอนประสูติมีเหตุอัศจรรย์ คือ มีกลิ่นหอมตลบอบอวลไปทั้งวงดนตรี แตรสังข์ดังขึ้นเองโดยไม่มีผู้บรรเลง
-ตำแหน่งเป็นประไหมสุหรีฝ่ายซ้าย
5.ท้าวกะหมังกุหนิง
-ผู้ครองเมองกะหมังกุหนิง มีน้องชาย 2 คน คือ ระตูปาหยังกับระตูประหมัน
และมีโอรสชื่อวิหยาสะกำ ซึ่งพระองค์รักราวกับแก้วตาดวงใจ
-ถูกอิเหนาแทงด้วยกริช ถึงแก่ความตาย
6.วิหยาสะกำ
-เป็นโอรสของท้าวกะหมังกุหนิง เป็นหนุ่มรูปงาม มีฝีมือในการใช้ทวนเป็นอาวุธ
-ถูกทวนของสังคามาระตาถึงแก่ความตาย
กลอนบทละครที่บรรยายและพรรณนา
1.บรรยายบุคลิกภาพของตัวละคร
2.การบรรยายลักษณะของศาลเทพารักษ์
3.การพรรณนาธรรมชาติ
การเลือกใช้ถ้อยคำดีเด่นและไพเราะเกินใจ
1.การใช้คำอุปมาอุปไมย
2.การใช้สัญลักษณ์
3.การกล่าวเกินความจริง
4.การใช้ถ้อยคำคมคายดีเด่น
การสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมไทย
1.ประเพณีการใช้บน
2.ประเพณีการแต่งตัว
3.ประเพณีการเสด็จของเจ้านาย
4.ประเพณีการตั้งพลับพลา
วิเคราะห์บทประพันธ์ที่สำคัญ
บทประพันธ์ที่สำคัญ บทอาขยานชมดง
เป็นบทนิราศที่มีการเดินทาง การพรรณนาถึงนางอันเป็นที่รักเน้นการพรรณนาชมนกชมไม้7ชนิด
วิเคราะห์คุณค่า
ด้านคุณค่า
1.โครงเรื่อง
1.1แนวคิดเรื่อง แสดงถึงความรักของพ่อที่มีต่อลูก
1.2 ฉาก เรื่องอิเหนาเป็นเรื่องของชวา แต่ผู้แต่งสามารถดัดแปลงให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมไทยอย่างกลมกลืม เช่น พระราชพิธีรับเมือง
1.3ปมขัดแย้ง มีหลายข้อขัดแย้ง แต่ละปมปัญหาเป็นเรื่องที่อาจเกิดได้ในชีวิตจริง และสมเหตุสมผล เช่น ปมแรก คือ ท้าวกุเรปันจะให้อิเหนาอภิเษกกับบุษบา แต่อิเหนาหลงรักจินตะหรา ไม่ยอมอภิเษกกับบุษบา
2.กลวิธีในการแต่ง
2.1จินตภาพ กวีใช้คำบรรยายได้ชัดเจนทำให้ผู้อ่านคิดภาพตามได้และได้อรรถรสในการอ่าน
3.ความรู้ความคิด
แสดงให้เห็นความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรมโบราณและการทำศึก
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
1.ลีลาในการแต่งคำประพันธ์
1.1เสาวรจนี หรือ ชมโฉม
1.2นารีปราโมทย์ หรือ บทโอ้โลม
1.3พิโรธวาทัง หรือ บริภาษ
1.4สัลลาปังคพิสัย หรือ บทคร่ำครวญ
2.เสียงเสนาะในการแต่งคำประพันธ์
2.1สัมผัสสระ
2.2สัมผัสอักษร
2.3การเล่นคำพ้องเสียง
2.4การเลือกสรรถ้อยคำ
คุณค่าด้านสังคม
1.เรื่องฤกษ์ยาม เช่นการทำนายดวงชะตาและดูฤกษ์ยามให้ท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกำ
2.เรื่องบุญกรรม เช่น ตอนที่ท้าวกะหมังกุหนิงกล่าวว่าจะยกทัพไปรบที่เมืองดาหาสุดแต่บุญกรรม ไม่ฟังคำฟังคำทัดทานของโหร
3.การแต่งตัวตามวันและวันที่เป็นมงคลแก่ผู้สวมใส่ เช่น ตอนที่ะหรัดตะปาตีแต่งตัวก่อนยกทัพไปทำศึก
5.พิธีกรรม เช่น พิธีเบิกโขนทวาร พิธีฟันไม้ข่มนาม
4.เรื่องบุพเพสันนิวาสและเทพอุ้มสม เช่น ตอนที่ท้าวกะหมังกุหนิงส่งราชทูตไปสู่ขอนางบุษบาว่าเป็นเพราะบุพเพสันนิวาสและเทพอุ้มสม
ค่านิยมที่ปรากฏในเรื่อง
1.การเลือกคู่ครอง
2.การทำศึกชิงนาง
3.การมีเมตตาธรรมของกษัตริย์
ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง
1.เราควรรู้จักควบคุมอารมณ์ตนเอง
2.ไม่ควรใช้กำลังในการแก้ปัญหาควรใช้เหตุผล
3.คิดก่อนที่จะทำสิ่งต่างๆ
น.ส.ณัฏฐ์นรี ดีมั่น ม.4/8 เลขที่13