Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดกับการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดกับการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ
ความหมาย
หมายถึง โรคหรือความเจ็บปวยต่างๆทีเกิดขึนกับผู้ปฏิบัติงานทีสัมผัสกับงานหรืออยู่ในสิงแวดล้อมในการทํางานทีเป็นพิษภัยจนเป็นสาเหตุให้สุขภาพอนามัยเสื่อมโทรมจนเจ็บป่วยเป็นโรคหรือพิการ
วัตถุประสงค์ของการสอบสวนโรคในสถานประกอบการ
1.เพือยืนยันการเกิดโรคและปัญหาสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
2.เพือศึกษาลักษณะทางวิทยาการระบาด
3.เพือหาสาเหตุและปัจจัยทีก่อให้เกิดโรค
4.เพือค้นหาผู้ปฏิบัติงานทีป่วยหรือผู้ทีเสี่ยงเพิ่มเติม
5.เพื่อประเมินสถานการณ์และความรุนแรง
6.เพื่อหาแนวทางในการปองกันและควบคุมโรค
วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวัง โรคจาการประกอบอาชีพ
1.เพืออธิบายสถานะสุขภาพ
2.เพือประเมินและพยากรณ์แนวโน้ม
3.เพือทราบข้อมูลการเกิดโรค
4.เพือประเมินประสิทธิผลการป้องกันและควบคุมโรค
รูปแบบการเฝ้าระวังสุขภาพ ในสถานประกอบการ
การเฝ้าระวังเชิงรุก
การเฝ้าระวังเชิงรับ
การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
การศึกษาทางวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
เป็นการศึกษาเพื่อให้ได้มาซึงคําตอบต่างๆต่อไปนี้
1.มีโรคจากการประกอบอาชีพอะไรเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใดในสถานประกอบการ
2.โรคหรือปญหานันๆเกิดขึนกับใครมีการกระจายของโรคหรือปญหานันๆอย่างไร
3.โรคหรือปัญหานั้นๆเกิดขึ้นที่ใด
เป็นการศึกษา การกระจายของโรค หรือองค์ประกอบของโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อบอกลักษณะหรือรูปแบบของโรคนั้น ๆ ว่าเกิดขึ้นกับกลุ่มบุคคลประเภทใด สถานที่แบบใด เกิดเมื่อไร มีสภาพแวดล้อมอย่างไร
การศึกษาทางวิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์
การศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-Sectional Study)
การศึกษาแบบย้อนหลัง (Rectrospective Study or Case-Control)
การศึกษาแบบไปข้างหน้า (Prospective Study or Cohort Study)
การศึกษาทางวิทยาการระบาดเชิงทดลอง
เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลว่าสิงทดลองหรือการกระทําหรือการแทรกแซงกิจกรรมบางอย่างที่ใช้ในการศึกษานันมีผลต่อสิงทีน่าสนใจศึกษาหรือไม่อย่างไร
สามารถทําได้ใน 2 รูปแบบคือ การศึกษาเชิงทดลองและการศึกษาเชิงกึ่งทดลอง
เป็นการศึกษาทางวิทยาการระบาดทีมีการจัดกระทําหรือกําหนดสิงทดลองให้กับกลุ่มทีศึกษา
รูปแบบการสอบสวนโรคในสถานประกอบการ
การสอบสวนเฉพาะราย
การสอบสวนการระบาด