Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 อาหารที่เหมาะสมสําหรับบุคคลในภาวะ และวัยต่างๆ (ต่อ) - Coggle…
บทที่ 6 อาหารที่เหมาะสมสําหรับบุคคลในภาวะ
และวัยต่างๆ (ต่อ)
วัยรุ่น
พฤติกรรมการบริโภคของวัยรุ่น
1.บริโภคตามกระแสนิยม อาหารที่นิยมกันมากในวัยรุ่นสมัยนี้ ได้แก่ อาหารฟาสต์ฟูด
2.งดอาหารบางมื้อ กินอาหารไมเ่ป็นเวลา
ความสำคัญของอาหารในเด็กวัยรุ่น
1.กินอาหารครบ 5 หมู่ ในปริมาณที่เพียงพอเพื่อให้ร่างกายได้สารอาหารครบถ้วน
2.กินอาหารครบ 3 มื้อ
3.เด็กวัยรุ่นที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก ควรกินอาหารให้ครบทุกมื้อและถูกตอ้งตามหลักโภชนาการควรจำกัดอาหารที่ให้พลังงานมากแต่ให้ประโยชน์น้อย
วัยผู้ใหญ่
อายุ 20 ปีขึ้นไปถือเป็นวัยผู้ใหญ่ในวัยนี้จะไม่มี การเสริมสร้างเพื่อเจริญเติบโตอีกแต่ยังคงมีการ เสริมสร้างเซลล์ต่างๆเพื่อรักษาสมรรถภาพการทำงานในร่างกายให้คงที่
ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย
1.กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลายและหมั่นดูแลน้ำหนักตัว
2.กินข้าวเป็นอาหารหลักสลับกับอาหารประเภทแป้ง เป็นบางมื้อ
3.กินพืชผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจำ
4.กินปลา เนื้อสตัว์ไม่ติดมัน ไข่ ถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ
5.ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
6.กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร
7.หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด
9.งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
8.กินอาหารทที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน
ผู้สูงอายุ
ปัญหาการกินอาหารของผู้สูงอายุ
ปัญหาเรื่องเหงือกและฟัน
การรับรสชาติอาหารจะลดลง
การรับกลิ่นอาหารอันชวนรับประทานลดลง
นิสัยการกินไม่ถูกต้อง
ความกังวลในจิตใจ
ความกังวลในด้านเศรษฐกิจของตนเองและครอบครัว
การจัดอาหารสําหรับผู้สูงอายุ
อาหารหมู่ที่ 1 เนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ
อาหารหมู่ที่ 2 ข้าว แป้ ง นํ้าตาล เผือก มัน
อาหารหมู่ที่ 3 ผักต่างๆ
อาหารหมู่ที่ 4 ผลไม้ต่างๆ ควรกินผลไม้ทุกวัน
อาหารหมู่ที่ 5 ไขมันจากสัตว์และพืช
นักกีฬาและผู้ออกกำลังกาย
นักกีฬาควรได้รับการดูแลในเรื่องการได้รับน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอเพื่อสร้างกล้ามเนื้อ ลด ความเหน็ดเหนื่อยและเร่งการพักฟื้น
สารอาหารที่ให้พลังงาน คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันนักกีฬาจะต้องการโปรตีนเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อ
สารอาหารไขมัน ในแต่ละวันควรได้รับพลังงานจากไขมันใน
อาหารร้อยละ 25 – 30 ของพลังงานที่ได้จากอาหารทั้งหมด
วิตามินและเกลือแร่เป็นสารอาหารที่จําเป็นเพราะจะช่วยในการเผาผลาญของร่างกาย
แคลเซยมีช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับกระดูก ควรเสริมโดยการดื่มนมสด อย่างน้อยวันละ 2 แก้ว
วัยทำงาน
การดูแลสุขภาพร่างกายของวัยทํางาน
ควบคุมนํ้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ของดัชนีมวลกาย นั่นคือไม่เกิน 25
ตรวจสุขภาพประจําปี เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อชนิดเรื้อรัง
เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
หมั่นออกกําลังกายอย่างสมํ่าเสมอ โดยเลือกประเภทให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย
หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ดื่มนํ้าสะอาดให้ได้วันละ 6 - 8 แก้ว เพื่อช่วยให้ระบบต่างๆ ภายในร่างกาย
ทํางานได้เป็นปกติ
รับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ และให้มีความหลากหลาย
รับประทานข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ
ซึ่งถ้าเป็นไปได้ ควรเลือกบริโภค ข้าวกล้องหรือข้าวซ้อมมือ
จํากัดปริมาณนํ้าตาล
หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสจัดและเค็มจัด
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและโคเลสเตอรอลสูง
รับประทานผัก ผลไม้เป็นประจํา