Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาการไม่พึงประสงค์และการจัดการอาการโรคมะเร็ง, นางสาวจันทราทิพย์ แก้วไข่…
อาการไม่พึงประสงค์และการจัดการอาการโรคมะเร็ง
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาเคมีบำบัด
เช่น คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ไข้ เหนื่อยล้า
การจัดการ
การจัดการอาการด้วยการใช้ยา เช่น การดูแลให้ได้รับยาแก้คลื่นไส้อาเจียน ยาลดไข้ ตามแผนการรักษา
การจัดการอาการโดยไม่ใช้ยา
มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ ด้านการผ่อนคลาย ผู้ป่วยเลือกวิธีพักผ่อน/นอนหลับ และการพูดคุยกับคนอื่นๆ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acute Leukemia)
อาการซีด มีจ้ำเลือดตามผิวหนัง หรือมีเลือดกําเดาไหลบ่อยๆ อาจมีอาการถ่ายดํา ถ้ามีเลือดออกในทางเดินอาหาร มีไข้ หรือภาวะติดเชื้อซ้ําๆ บ่อยๆ
การจัดกาาร
การดูแลป้องกันการติดเชื้อจากมีนิวโทรฟิวน้อย และหรือไขกระดูกถูกกดการทํางานจากผลของยาเคมีบําบัด
การเฝ้าระวังเกิดภาวะ septic shock จากการติดเชื้อในขณะที่ร่างกายมีเม็ดเลือดขาวชนิดgranulocyte ต่ํา
การเฝ้าระวังเลือดออกจากเกล็ดเลือดต่ํา และการเกิด spontaneous hemorrhage เนื่องจากไขกระดูกถูกกดการทํางานซึ่งเป็นผลจากเซลล์มะเร็งเข้าไปแทรกและจากยาเคมีบําบัด
เนื้องอก/มะเร็งของไต (Wilm’s tumor)
อาการ ท้องโต ปวดท้อง เบื่ออาหาร ปัสสาวะเป็นเลือด
การจัดการ
ห้ามคลําท้องเด็ก โดยเขียนป้ายว่าห้ามคลําท้อง ไว้ในที่สังเกตง่าย พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลให้ผู้ดูแลทราบว่า จะทําให้ก้อนแตกและมะเร็งแพร่กระจายไปได้
ประเมินการทํางานของไต ด้วยการสังเกตลักษณะและปริมาณของปัสสาวะ บันทึกประมาณน้ําเข้าและน้ําออก เพราะเด็กอาจมีความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะร่วมด้วย
เนื้องอกของเซลล์ประสาท (Neuroblastoma)
อาการและอาการแสดง
จากช่องทรวงอกส่วนหลัง จะมีอาการไอ หายใจขัด มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ ถ้าไปในกระดูกสันหลัง แขนขาอ่อนแรง มีความผิดปกติในระบบขับถ่าย
จากบริเวณคอ มีก้อนที่คอ Horner syndrome (หนังตาตก, รูม่านตาหดเล็ก)
Olfactory bulb คัดจมูก เลือดกําเดาไหล จมูกไม่ได้กลิ่น
การจัดการ
การวัดประเมินความดันเลือดเป็นระยะๆ หรือการดูแลผิวหนังเด็กให้แห้ง เพราะเด็กจะมีเหงื่อออกมาก เนื่องจากมีการหลั่งcatecholamine มากถ้ามีก้อนบริเวณต่อมหมวกไต
มะเร็งต่อมน้ําเหลือง ( Lymphoma )
อาการและอาการแสดง
ต่อมน้ําเหลืองโต ลักษณะต่อมน้ําเหลืองที่โตแข็งไม่เจ็บ และเคลื่อนได้ ต่อมน้ําเหลืองที่พบได้บ่อย คือ ที่คอ ที่รักแร้ ส่วนที่ขาหนีบจะพบได้น้อยกว่า
เบื่ออาหาร น้ําหนักลด อ่อนเพลีย
ตับ ม้ามโต
การจัดการ
การรักษาด้วยรังสี การใช้รังสีรักษาอย่างเดียว จะได้ผลดีในผู้ป่วยที่เป็นเฉพาะที่ โดยต้องใช้ขนาดของรังสีสูงในบริเวณที่เป็นโรค รวมทั้งต่อมน้ําเหลืองใกล้เคียงหรือต่อมน้ําเหลืองทั้งหมด
การรักษาด้วยเคมีบําบัด การรักษาด้วยยาเคมีบําบัดมักใช้รักษามะเร็งในระยะที่ 4 ซึ่งมีการแพร่กระจายโรคไปหลาย ๆ อวัยวะ
นางสาวจันทราทิพย์ แก้วไข่ เลขที่ 91 รหัส 602601013