Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บําบัดหัตถการ - Coggle Diagram
บําบัดหัตถการ
การเย็บแผล
-
-
-
การพยาบาลหลังเย็บแผล
นัดมาทำแผลในวันรุ่งขึ้นถ้าแผลแห้งดีรอบแผลไม่บวมแดงอาจนัดวันเว้นวันจนกว่า จะครบตัดไหมถ้าแผลมีdischargeบวมแดงนัดมาทำแผลทุกวัน
-
การถอดเล็บ
หมายถึง การผ่าตัดทางการแพทย์ โดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อถอดเล็บมือหรือเล็บเท้าที่ผิดปกติออกมา
-
-
ขั้นตอนการถอดเล็บ
-
จัดท่าผู้ป่วย จากนั้นให้สารละลายโพวิโดน ไอโอดีน หรือยาชา เพื่อระงับความรู้สึกเจ็บปวดบริวณนิ้วที่จะถูกถอดเล็บ
-
-
-
หากเนื้อเยื่อบริเวณใต้เล็บเสียหายมาก แพทย์อาจใช้เครื่องมือจี้ด้วยไฟฟ้า เพื่อกำจัดเนื้อเยื่อ แล้วเช็ดออกด้วยผ้าก๊อซ
หลังจากนั้น อาจทายาปฏิชีวนะในรูปครีมขี้ผึ้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อ แล้วพันด้วยผ้พันแผลที่สะอาดปลอดเชื้อ
-
จมน้ำ
-
-
-
การปฐมพยาบาล
-
-
-
-
-
กรณีไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง : ช่วยหายใจ โดยเปิดทางเดินหายใจ โดยการกดหน้าผาก เชยคาง และเป่าปากโดยวางปากครอบปากผู้ป่วย บีบจมูก เป่าลมเข้า ให้หน้าอกผู้ป่วยยกขึ น(เป่าปาก 2 ครั้ง)
กดนวดหัวใจ วางส้นมือกึ่งกลางหัวนมทั้ง2ข้าง ต่อมากดหน้าอกให้ยุบไปประมาณ 1ใน3ของความหนาของหน้าอกความเร็ว 100 หัวนมทั้ง2ข้าง ต่อมากดหน้าอกให้ยุบไปประมาณ 1ใน3ของความหนาของหน้าอกความเร็ว 100
จับผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง ศีรษะหงายไปข้างหลัง เพื่อให้
น้ำไหลออกทางปาก ใช้ผ้าห่มคลุมผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความอบอุ่น งดน้ำและอาหาร และน้าส่งโรงพยาบาลทุกราย
ผ่าฝี
-
ฝี แบ่งเป็น 2 ประภท
ฝีภายนอก เป็นฝีที่ก่อตัวขึ้นบริเวณใต้ผิวหนัง บริวณรากผมหรืองนที่เกิดการติดเชื้ว จะฟัฒนาจนกิดฝี มีอาการ คือ ฝีเกิดการอักเสบ บวมแดง เจ็บปวด รู้สึกแสบร้อน
ฝีภายใน เป็นฝีที่ก่อตัวขึ้นบริวณอวัยวะภายใน หรือในบริเวณที่ว่างระหว่างอวัยวะภายในร่ากาย อาการแสดงขึ้นอยู่กับบริเวณที่เกิดฝี
วิธีผ่าฝี
-
-
-
-
เช็ดบริเวณที่จะผ่าด้วย povidone iodineโดยเช็ดวนจากค้นในออกมาด้นนอกกว้างขนาดพอที่วางผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางได้รอจนเห้ง
การใช้ยาเฉพาะที่
หลักทั่วไปในการฉีดยาชา
-
-
3.ควรฉีดยาเข้าในผิวหนัง เว้นแต่บริเวณฝ่ามือ ฝ้าเท้า หรือที่หนังศีรษะเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเจ็บเวลาดลื่อนเข็ม โดยปักเข็มเพียงพ้นผิวแล้วฉีดยาเข้าไปเล็กน้อย เข็มอยู่บนผิวหนังจะมีรอยนูนขึ้นทันทีแต่ถ้าเข็มเข้าไปชั้นใต้ผิวหนังจะไม่มีรอยนูน
4.ค่อยๆ ปักเข็มข้าไปในเนื้อใต้ผิวหนัง ดูดดูว่าปลายเข็มเข้าไปในหลอดเลือดหรือไม่ แล้วเดินยาเพียง1-2 cc รอดูประมาณ 1-2 นาที่ ถ้าไม่มีปฏิกิริยาใดให้ฉีดต่อไปจนได้ปริมาณยาที่ต้องการ
-
-
7.หากจะฉีดบริเวณกว้างควรแทงเข็มผ่านผิวหนังเพียงครั้งเดียว เมื่อเปลี่ยนต าแหน่งที่ฉีดควรถอนข็มออกมาจนคือบสุด แล้วจึงเปลี่ยนทิศทาของเข็ม โดยไม่ต้องถอนเข็มออกจากผิวหนัง
8.ไม่ควรแทงเข็มแรงๆ ลงไปบนกระดูก เพราะจะท าให้เจ็บและอาจท าให้ปลายเข็มงอ และขูดบาดเนื้อเยื่อวลาดึงออกหรือแทงเข้า
9.ทดสอบการชา โดยใช้ tooth forceps จับที่ผิวหนังต าแหน่งที่ต้องการให้ชา ถ้าผู้ป่วยไม่เจ็บแสดงว่ามีการชาแล้วสามารถท าหัตถการได้
อาการข้างเคียง
-
-
- ผลต่อระบบเลือด : ความดันโลหิตต่ำ
หัวใจเต้นช้าลง อาการเพ้เบบ anaphylaxis
-
-