Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เรื่องอวัยวะรับความรู้สึก - Coggle Diagram
เรื่องอวัยวะรับความรู้สึก
การเห็น (Visual sensation)
โครงสร้างของลูกตา
สเคลอรา (Sclera) หรือตาขาว
จะมีความเหนียวแต่ไม่ยืดหยุ่น มีกระจกตา อยู่ด้านหน้าสุด เป็นเยื่อที่นูนออกมาและมีลักษณะโปร่งใส
ทำหน้าที่่เป็นทางผ่านของแสงเพื่อเข้าไปในตา และหักเหแสง
เพื่อให้ภาพตกลงบนเรตินา
เรตินา (Retina)
เซลล์รูปแท่ง (Rod cell)
เป็นเซลล์รับแสงที่ไวต่อการรับแสงสว่่าง แต่ไม่สามารถบอกความแตกต่างๆ ของสีได้
สัตว์ที่หากินตอนกลางคืนจะมีเซลล์ชนิดนี้มาก
เซลล์รูปกรวย (Cone cell)
เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสง
สีน้ำเงิน
สีแดง
สีเขียว
โครอยด์ (Choriod)
ด้านหน้าใกล้เลนส์ตามีม่านตา เป็นแผ่นกล้ามเนื้อยื่นออกมาจากด้านบนและด้านล่างเป็นผนังกั้น เหลือเป็นช่องตรงกลาง เรียก รูม่านตา
ป้องกันไม่ให้แสงทะลุผ่านชั้นเรตินาไปยังด้านหลังของตาโดยตรง
เป็นผนังชั้นกลางที่มีเลือดมาหล่อเลี้ยง มีสารสีที่ทำให้สีของตาแตกต่างกันออกไปแต่ละบุคคล
เลนส์ตา (Lens)
ในช่องหน้าเลนส์
เรียกของเหลวนี้ว่า Aqueous humor
ให้อาหาร และออกซิเจนแก่กระจกตา
และดันให้กระจกโค้งนูน
ในช่องหลังเลนส์เรียก Vitreous humor
ช่วยให้นัยน์ตาคงรูปร่าง
ความผิดปกติของสายตา
สายตาสั้น (Myopia)
อาจเกิดเนื่องจากกระบอกตาสั้น เกินไป
ทำให้มองไกลไม่ชัด
สายตายาว (Hypermetropia)
ส่วนใหญ่เกิดเนื่องจาก กระบอกตายาวเกินไป
ทำให้มองใกล้เห็นไม่ชัด
สายตาเอียง (Astigmatism)
เป็นภาวะที่มองเห็นภาพไม่ชัด
การแก้ไขทำได้โดย ใช้แว่นกาบ
กล้วยเพื่อทำให้การหักเหของแสงทุกแนวเท่ากันได้
การได้ยินและการทรงตัว (Sense of hearing and equilibrium)
การได้ยินเสียง และการทรงตัว หูของคนแบ่งได้เป็น 3 ส่วน
หูส่วนกลาง
ท่อยูสเตเชียน (Eustachian tube) เป็นท่อที่เชื่อมต่อ
ระหว่างหูส่วนกลางกับคอหอย ทำหน้าที่ปรับความดันอากาศ
กระดูก 3 ชิ้นคือ กระดูกค้อน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน
หูส่วนใน
ส่วนที่เป็นกระดูก
(Osseous labyrinth)
ส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อ (Membranous labyrinth)
หูส่วนนอก
ใบหู (Pinna) เป็นแผ่นกว้างกางออก ทำหน้าที่รับคลื่นเสียงส่งไปในรูหู
รูหู (Auditory canal) เป็นท่อกลวง ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของคลื่นเสียง
เยื่อแก้วหู (Ear drum) เป็นเยื่อบางๆ กั้นระหว่าง
หูส่วนนอกกับหูส่วนกลาง
การได้กลิ่น (Olfactory sense)
อวัยวะที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นคือ จมูก
เซลล์ประสาทรับกลิ่น (olfactory neuron)
เส้นประสาทรับกลิ่น (olfactory nerve)
เป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1
เยื่อบุผิวที่เกี่ยวข้องกับการได้กลิ่น เป็นแผ่นเล็กๆ มีเยื่อจากเซลล์ เยื่อบุจมูก
การรับรส (Taste or Gustatory sense)
อวัยวะที่เกี่ยวกับการรับรส คือ ลิ้น (Tonque)
ผิวลิ้นจะมีปุ่มลิ้น (Papilla) เล็กๆ จำนวนมาก
จะประกอบด้วย ตุ่มรับรส
(Taste buds)
ใน papillae หนึ่งอัน จะประกอบด้วย
taste buds อยู่ประมาณ 250 อัน สำหรับรับรส
มีเซลล์ประสาทรับรส คือ ประสาทสมอง
คู่ที่ 7 และคู่ที่ 9
การรับรสต้องอาศัยการทางเคมี
เปลี่ยนแปลงเคมี ต่อ taste buds
ตำแหน่งรับรส
ส่วนใหญ่ของ taste buds พบที่ด้านหน้าและด้านข้างของลิ้น พบข้างบนต่อมทอนซิล และรอบๆ nasopharynx
จะรับรสได้ 4 ชนิด คือ
รสเปรี้ยว (Sour)
อยู่ด้านข้างของลิ้นทั้งสองข้าง
รสหวาน (Sweet)
รับได้ดีที่ปลายลิ้น
รสเค็ม (Salt)
รับได้ที่ด้านข้างค่อนไปทางปลายลิ้นทั้งสองข้าง
รสขม (Bitter)
อยู่กลางโคนลิ้น