Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขงภาพของมารดาและทารกในระย…
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขงภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์
2 อารมณ์คงที่
3 ภูมิใจในตัวลูก
1 หงุดหงิด ใจน้อย
4 กลัวการคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ
กลัว วิตกกังวล
ลี่ังเลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย
Cervix
Vagina
Uterus
Ovaries
Breasts
Cardiovascular Adaptation
Respiratory Adaptation
Andocine Adaptation
Metaboism Adeptation
Integrementary แตกลาย
Musculoskeletal
Gestointestinal
การดูแลมารดาที่มีภาวะไม่สุขสบาย
บวม
เลี่ยงการยืนหรือเดินเป็นเววลานานๆ
ยกเท้าสูง
หากมาเป็นนานจนผิดปกติให้รีบปรึกษาแพทย์ทันที
ท้องผูก
ดื่มน้ำวันละ 6-8แก้ว
รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง
ออกกำลังกายอย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ
ผึกการขับถ่ายให้ตรงเวลา
ใจสั่น เป็นลม
นอนตะแคงซ้ายเพื่อให้เลือดไหลเวียนได้ดี
ปรึกษาแพทย์ทันที
ร้อนใน
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด
เหงือกอักเสบ
ใช้แปรงสีฟันขนอ่อนนุ่ม
ปรึกษาทันตแพทย์
เพิ่มการรับประทานโปรตีน ผัก ผลไม้
คลื่นไส้อาเจียน
จิบน้ำอุ่นบ่อยๆ
รับประทานอาหารอ่อนครั้งละน้อยๆแต่เพิ่มความถี่ของมื้ออาหาร
ตื่นนอนตอนเช้าแล้วนอนต่อก่อนลุก15นาที
ตะคริว
นวด และดัดปลายเท้าให้งอขึ้น
ปรึกษาแพทย์
หลีกเลี่ยงการใช้กำลังขามากเกินไป
เส้นเลือดขอด
นอนยกเท้าสูง
พันขาด้วยelastic bandage
ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุที่บริเวณเส้นเลือดขอด
หายใจลำบาก
นอนตะแคงซ้าย
นอนศรีษะสูง
ปรึกษาแพทย์
ปวดหลัง ปวดถ่วง ปวดข้อต่อ
หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก ยกของหนักและยืนเป็นเวลานาน
ยืน นั่ง นอน เดิน ดำเนินกิจวัตรประจำวันด้วยทาที่เหมาะสม
ทำกายบริหารในท่า pelvic tilting
ใส่รองเท้าส้นเตี้ยไม่เกิน0.5นิ้ว
ปัสสาวะบ่อย
ดื่มน้ำน้อยในตอนกลางคืน
ไม่กลั้นปัสสาวะ
ไม่ดื่มครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
พัฒนาการของตัวอ่อน
Pre-Embryonic Stage 1-2 weeks
Embryonic Stage 2-8weeks
การเกิดเยื่อหุ้มตัวอ่อน
ระบบแรกที่ทำหน้าที่ได้คือ ระบบไหลเวียนเลือด
การเกิดรก
Embryonic Disc
Ectoderm เปลี่ยนแปลงไปเป็นผม เล็บ
Mesoderm เปลี่ยนแปลงไปเป็นกล้ามเนื้อ
Endoderm เปลี่ยนแปลงไปเป็นตับและปอด
Fetal Stage 9weeks-คลอด
12 weeks เห้นนิ้วมือนิ้วเท้า เริ่มแยกเพศได้
16 weeks ทารกเริ่มดิ้น
34 weeks อวัยวะต่างๆพัฒนาสมบูรณ์ยกเว้นปอด
การประเมินภาวะสุขภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
UA
OF,DCIP
HIV
CBC,VDRL
ABO blood, Rh
HBSAG
การซักประวัติ
ประวัติส่วนตัว
ประวัติครอบครัวเพื่อดูโรคติดต่อทางพันธุกรรม
ประวัติการคุมกำเนิด
ประวิตการเจ็บป่วยในอดีต
ความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์
ประวัติการดิ้นของทารก
ครรภ์หลังนับที่ 16-18 weeks
ครรภ์แรนับที่18-20weeks
GPPAL
P=จำนวนการคลอดปกติ
P= จำนวนการคลอดก่อนกำหนด
A=จำนวนการทำแท้ง
G=จำนวนการตั้งครรภ์
L=จำนวนบุตรทีมีชีวิต
การตรวจร่างกาย
ดัชนีมวลกาย
การตวจเต้านมและหัวนม
Waller's Test
Pinch test
Hoffaman's maneuver
คลำเต้านม
การตรวจครรภ์
คาดคะเนอายุครรภ์
LMP
EDC = (LPM-3 months) +7
GA = ตั้งแต่ LPM จนถึงวันที่คำนวณ / 7
EDC
ครรภ์แรกนับจากวันที่ดิ้น +20,21,22 weeks
ครรภ์หลังนับจากวันที่ดิ้น +22,23,24 weeks
GA
ครรภ์แรก(นับจากวันที่ดิ้น / 7) +18,19,20 weeks
ครรภ์หลัง(นับจากวันที่สิ้น / 7) +16,17,18 weeks
จำนวนทารก
การมีชีวิตอยู่
แนวท่าและส่วนนำ