Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและท…
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ
ไตรมาสที่2
การดูแลเต้านม
การแต่งกาย
การดูแลผิวหนัง
ไตรมาสที่3
การเตรียมตัวให้นมบุตร
อาการเจ็บครรภ์คลอด
การเตรียมตัวเพื่อการคลอด
การเตรียมของใช้สำหรับมารดา/บุตร
ไตรมาสที่1
การพักผ่อนและนอนหลับ
การออกกำลังกายและกายบริหาร
การทำงาน
การเดินทาง
การดูแลรักษาสุขภาพของปากและฟัน
การรับประทานอาหารและยา
การมีเพศสัมพันธ์
อาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนนัดและการมาตรวจตามนัด
การฉีดวัคซีน
การดูแลมารดาที่มีภาวะไม่สุขสบายในระยะตั้งครรภ์
คลื่นไส้ อาเจียน
รับประทานอาหารครั้งละน่อยๆแต่บ่อยครั้ง
ดื่มของอุ่นๆ วันละ 6-8แก้ว โดยใช้การจิบบ่อยๆ
รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย ex: ขนมปังปิ้ง
ตื่นเช้าๆแล้วนอนต่อ15นาทีก่อนจะลุกขึ้นทำกิจวัตรประจำวัน
อธิบายว่าเป็นอาการของการตั้งครรภ์
มีน้ำลายมาก
แนะนำว่าเป็นอาการปกติและให้ลดอาหารจำนวนแป้ง/อมลูกอมรสเปรี้ยว
เหงืออักเสบ
เพิ่มอาหราโปรตีน ผัก ผลไม้
ดูแลสุขภาพฟัน โดยปรึกษาทันตแพทย์
ใช้แปรงที่มีขนอ่อนนุ่ม
ร้อนในอก
รับประทานอาหารในปริมาณไม่มากนักแต่เพิ่มจำนวนมื้อให้มากขึ้น
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส อาหารรสจัด
ท้องผูก
ดื่มน้ำวันละ8-10แก้ว
รับประทานอาหารที่มีกาก
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ฝึกนิสัยในการขับถ่ายให้เป็นเวลา
ริดสีดวงทวาร
รับประทานที่มีกากใย
ดื่มน้ำอย่างน้อย8แก้ว/วัน
ใจสั่น เป็นลม
ตรวจความเข้มข้นของเลือด
ตรวจความเข้มข้นของเลือด
เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ
เส้นเลือดขอด
พันขาด้วยผ้ายืด/ถุงเท้ายืด
แนะนำให้นอนตแะแคงซ้าย ยกเท้าสูง
ระมัดระวังอย่าให้เกิดการบาดเจ็บตรงบริเวณที่มีเส้นเลือดพองขอด
ไม่ควรยืน/เดินเป็นเวลานาน
หายใจตื้นและลำบาก
นอนในท่าศีรษะสูง
ปรึกษาแพทย์เพื่อหาสาเหตุ
ตะคริว
หลีกเลี่ยงการใช้กำลังขาที่มากเกินไป
นวดขา ดัดปลายเท้าให้งอขึ้น
รับประทานนมให้มากขึ้นและอาหารที่มีคุณค่า
ปรึกษา เพื่อได้รับยาที่มีแคลเซียม
ปวกหลัง ปวดถ่วงและปวดที่บริเวณข้อต่อต่างๆ
การบริหารกล้ามเนื้อหลัง ทำท่าPelvic tulting
ให้ผู้ใกล้ชิด ช่วยนวดบริเวณหลัง
การนั่งพักเข่า ยืน เดิน และนั่งในท่าที่เหมาะสม
ใส่รองเท้าส้นเตี้ย
หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
ปรีกษาแพทย์
ปัสสาวะบ่อย
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ
ปัสสาวะในท่านั่งยองๆ
อย่ากลั้นปัสสาวะบ่อยๆ
ดื่มน้ำมากในตอนกลางวันและลดลงในตอนกลางคืน
บวม
ขณะพักให้ยกเท้าให้สูงขึ้นเล็กน้อย
ถ้าบวมเป็นเวลานานควรปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจ
หลีกเลี่ยงการยืน/เดินนานๆ
อาการคัน
ทาครีม/น้ำมันบำรุงผิว
หลีกเลี่ยงการใช้สบู่ที่มีความเป็นกรด/ด่างสูง
ตัดเล็บให้สั้น ไม่ควรเกาบริเวณที่คัน
หลีกเลี่ยงการใช้สารที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์/น้ำมันหอมระเหย
แนะนำการทำความสะอาดร่างกาย
การประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์ปกติ
First trimester
เดือนที่1ถึงเดือนที่3 (1-12สัปดาห์)
Second trimester
เดือนที่4ถึงเดือนที่6 (13-38สัปดาห์)
มีระยะประมาณเวลา280วันหรือ40สัปดาห์
Third trimester
เดือนที่7ถึงครอบกำหนดคลอด (29-42สัปดาห์)
Antenatal care(ANC)
ยืนยันว่ามารดาตั้งครรภ์
ตรวจวินิจฉัยความผิดปกติทั้งทางร่างกายและจิตใจ ให้คำแนะนำการปฎิบัติตัวเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
วินิจฉัย/ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์ส่งต่อให้แพทย์
เตรียมร่างกายและจิตใจของมารดาและบิดา เพื่อจะเป็นมารดาและบิดาและครอบครัวที่สมบูรณ์ต่อไป
เตรียมการคลอดและการแสดงบทบาทมารดาหลังคลอด
การประเมินภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
การซักประวัติ
ประวัติการคุมกำเนิด
วิธีคุมกำเนิด
ระยะเวลาที่คุมกำเนิด
ระยะเวลาที่หยุดคุมกำเนิดครั้งสุดท้ายก่อนการตั้งครรภ์
ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
อุบัติเหตุหรือโรคเกี่ยวกับกระดูกเชิงกราน
ประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ ex: หัดเยอรมัน หัวใจ เบาหวาน โรคทางพันธุกรรม
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อนๆ
ประวัติการแท้ง
ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
ประวัติประจำเดือน
วันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย
ประวัติการตั้งครรภ์แผดในครอบครัว
ประวัติการดิ้นของทารกในครรภ์
การซักประวัติหญิงตั้งครรภ์
ประวัติความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์
ท้องผูก
เส้นเลือดขอด
ถ่ายปัสสาวะ
ปวดศีรษะ คลื่นไส้
เลือดออกทางช่องคลอด
ประวัติส่วนตัว
อายุ น้ำหนัก การใช้ยาและสารเสพติด
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
วัดส่วนสูง
150cm
ชั่งน้ำหนัก
การตรวจร่างกายทุกระบบ
วัดBP
การตรวจเต้านม
หัวนม ขนาด รูปร่าง ความยืดหยุ่น
ตรวจดู คัดตึง ก้อนที่เต้านม
Waller test
กดลงไปในฐานหัวนมตรงๆ ถ้าจับหัวนมได้ แสดงว่าทารกสามารถดูดนมได้
Pinch test
บีบหัวนม ให้หัวนมผลุบออกมา
Hoffman maneuver
แก้ไขหัวนมสั้น/บอด ใช้นิ้วแม่มือ2ข้างดึงออก
Nipple puller
แก้ไขหัวนมบอด
แขนขา
การตรวจภายใน
การตรวจครรภ์
การคงชีวิตอยู่ของทารกในครรภ์
จำนวนทารกในครรภ์
แนว ท่า และส่วนำของทารก
Lie
แนวขวาง(trasverse lie)
แกนยาวของลำตัวทารก ขวางกับแนวยาวของลำตัวมารดา
แนวเฉียง(oblique lie)
แกนยาวของลำตัวทารกอยู่เฉียงกับแนวยาวของลำตัวมารดา
แนวยาว(longitudinal lie)
แกนยาวของลำตัวทารก ขนานกับแนวยาวของลำตัว
Presentation
แนวยาว
ใช้Cephalic presentation/breech presentation
แนวขวาง
ใช้ shoulder presentation
Cephalic presentation
Vertex presentation
Bregma presentation
Browpresentation
Face presentation
Attitude
Flexion
ทรวปกติที่ทารกก้มศีรษะจนคางชิดอก
Slight degree of deflexion
ศีรษะตั้งตรง
Moderate degree of deflexion
ศีรษะเงย หน้าอกแอ่น
Marked degree of deflexion
แหงนจนท้ายทอยมาอยู่ชิดหลัง หน้าอกแอ่นเต็มที่
Breech presentation
Complete breech
Incomplete Breech
Position
Right
ROT
Left
LOT
Anterior
ROA,LOA
Posterior
LOP,ROP
คาดคะเนอายุครรภ์
วิธีการตรวจครรภ์
การคลำ
HF
Position
Presentation
การฟัง
FHS
Umbilical souffle
Uterine souffle
Fetal shocking sounf
การดู
ลักษณะ
สี
ขนาดท้อง
รูปร่าง
การเคลื่อนไหว
Leopold maneuver
First Maneuver(Fundal grip)
ดูขนาดยอดมดลูกตามสัดส่วนหน้าท้อง
คำนวณจากการวัดยอดมดลูกด้วยสายวัด
ใช้มือแตะยอดลูก อีกข้างหนึ่งคลำหาxiphoid processแล้วดูระดับความสูงของยอดมดลูก
Second Maneuver (Umbillical grip)
ใช้ฝ่ามือทาบผนังหน้าท้อง ตรวจหาส่วนที่กว้าง(Large parts) คือ หลังและส่วนที่เล็ก(Small parts) คือ แขน ขา ข้อศอก หัวเข่า
Third Maneuver (Pawlik's grip)
ใช้มือขวาเพียงมือเดียวจับส่วนของทารกที่บริเวณเหนือหัวเหน่าให้อยู่ในอุ้งมือ ตรวจหาส่วนนำว่าเป็นศีรษะ/เป็นก้น
Fourth Maneuver (Bilaterak inguinal grip)
ตรวจหาระดับของส่วนนำ ตรวจว่ามีengagementหรือไม่ ใช้ฝ่ามือเคลื่อนไปตามข้างของส่วนนำ ไปหารอยต่อกระดูกหัวเหน่า
ตรวจหาส่วนนำ ว่าเป็นศีรษะ/ก้น เคลื่อนฝ่ามือลูบตามสองข้างส่วนนำไปทางศีรษะ
ผู้ตรวจหันหน้าไปด้านปลายเท้า
การตรวจทางห้องปฎิบัตืการ และการตรวจพิเศษอื่นๆ
CBC
VDRL
HIV
OF
DCIP
กลุ่มเลือด ABOและRh
HbsAg
UA