Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
4.1.4 ทารกตายในครรภ์ (Dead fetus in utero)
สาเหตุที่ทำให้ทารกตายในครรภ์
โรคที่เกิดเนื่องจากการตั้งครรภ์ ได้แก่ preeclampsia หรือ eclampsia
2 .โรคที่เกิดร่วมกับการตั้งครรภ์ ได้แก่ เบาหวาน ภาวะโลหิตจาง
โรคติดเชื้อ ได้แก่ มาลาเรีย ไทฟอยด์ ปอดบวม หัดเยอรมัน เริม และคางทูม
ภาวะผิดปกติของทารก ได้แก่ IUGR , hydrops fetalis , ความผิดปกติแต่กำเนิด เช่น CHD,
ความผิดปกติของโครโมโซม ที่พบบ่อยได้แก่ trisomy , Down’s syndrome
การได้รับอุบัติเหตุของหญิงตั้งครรภ์ที่มีผลต่อทารกในครรภ์
อันตรายจากการคลอด เช่น การคลอดผิดปกติ การคลอดติดขัด
อาการและอาการแสดง
1.หญิงตั้งครรภ์ให้ประวัติว่าเด็กไม่ดิ้น มีเลือดหรือมีน้ำสีน้ำตาลออกทางช่องคลอด
2.ตรวจหน้าท้อง พบระดับมดลูกตํ่ากว่าอายุครรภ์และคลำตัวทารกพบว่าไม่รู้สึกว่า ทารกดิ้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ซักประวัติได้ว่ารู้สึกทารกไม่ดิ้น
การตรวจร่างกาย HF < GA , ฟัง FHS ไม่ได้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1.1 Spalding’s sign แสดงว่ามีการเกยกันของกระดูกกะโหลกศีรษะ
3.1.2 Deuel sign คือ มีการตั้งของของเหลวระหว่างชั้นไขมันของหนังศีรษะและ กะโหลก
3.1.3 กระดูกสันหลังโค้งงอมากกว่าปกติหรือหักงอเป็นมุม
3.1.4 พบเงาแก๊สในหลอดเลือดใหญ่ (aorta vena cava) ของทารก
แนวทางการรักษา
รอให้เจ็บครรภ์และคลอดเอง ประมาณ 90 %
การทำให้ครรภ์สิ้นสุดลง
ในรายที่มีภาวะเลือดไม่แข็งตัว การใช้ heparin จะได้ผลดี
4.1.3 การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm labour)
สาเหตุ
อายุน้อยกว่า 20 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
ตั้งครรภ์ไม่พึงปรารถนา
น้ำหนักน้อยกว่า 50 กก. เมื่อเริ่มตั้งครรภ์ และเพิ่มน้อยในระยะตั้งครรภ์
สูบบุหรี่และใช้สารเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอีน
เคยมีประวัติแท้ง โดยเฉพาะเมื่อตั้งครรภ์ในไตรมาสที่ 2
มีการอักเสบ ติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
มดลูกหดรัดตัวถี่ขึ้นเรื่อยๆ ก่อนครบกำหนดคลอด
ครรภ์แฝด
มีฮีโมโกลบินน้อยกว่า 9 กรัม/100 มิลลิลิตร
คอมกลูกส่วนในเปิดมากกว่าหรือเท่ากับ 1 นิ้วมือ เมื่ออายุครรภ์ 30-32 สัปดาห์
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
มีประวัติทารกตายในครรภ์ หรือตายในระยะแรกเกิด
อาการ
ปวดบริเวณเหนือกระดูกหัวเหน่า คล้ายปวดประจำเดือนจากการหดรัดตัวของมดลูก
ปวดตื้อๆบริเวณส่วนล่างหรือบั้นเอว
ปวดหน่วงลงล่างลักษณะคล้ายกับทารกเคลื่อนต่ำ หรืออาการท้องลด
ปวดบริเวณช่องท้อง
แนวทางการรักษา
ควรตรวจอัตราการเต้นของหัวใจทารก และการหดตัวของมดลูก
ระวังการใช้ยาแก้ปวดและยานอนหลับในขณะเจ็บครรภ์
ลดความกระทบกระเทือนต่อทารกในขณะคลอด โดยตัดฝีเย็บ( episiotomy ) กว้าง ๆ
พิจารณาให้การผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง เช่น ทารกอยู่ในภาวะอันตราย
ข้อห้ามในการให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด โดยพิจารณาให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์
การเจ็บครรภ์เข้าสู่ระยะ active
ถุงน้ำคร่ำแตก
มีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น pre-eclampsia
มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์ เช่น ตกเลือดก่อนคลอด
ทารกในครรภ์มีภาวะแทรกซ้อน เช่น IUGR, พิการแต่กำเนิด เป็นต้น
มีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นข้อห้ามในการใช้ยากลุ่ม beta-sympathominetic drugs
เช่น เบาหวานที่ควบคุมไม่ได้
การยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ( Tocolytic )
" การนอนพักผ่อน " อย่างเพียงพอ
่ถ้าหากว่าการนอนพักไม่สามารถช่วยจะต้องใช้ยา
Beta-adrenergic receptor agonists (betasympathomimetic drugs)
Ritodrine (Yutopar )
Terbutaline (Bricanyl )
Fenoterol (Berotec )
Magnesium sulfate
Antiprostaglandins หรือ prostaglandin synthetase inhibitors
salicylate
indomethacin
naproxen
Calcium channel blocking drugs เช่น nifedipine, verapamil
ยาอื่น ๆ เช่น progesterone, ethanol, diazoxide
4.1.1อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง (Hyperemesis gravidarum)
ภาวะที่พบได้ประมาณร้อยละ 70-80 ของการตั้งครรภ์
เกิดขึ้นตลอดเวลาและเป็นเวลานาน
เกิดขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 4-6
สัปดาห์ และจะหายไปเมื่อายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์
สาเหตุ
ระดับของฮอร์โมนที่สร้างจากรก Human chorionic gonadotropin และ estrogen สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
ผลของฮอร์โมน Progesterone ทำให้กระเพาะอาหารเคลื่อนไหวช้าลง อาหารคั่งค้างอยู่นาน
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ เนื่องจากการได้รับอาหารไม่เพียงพอ
สภาพจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ไม่ปกติ เช่น สตรีตั้งครรภ์กลัวการคลอดบุตร ไม่อยากตั้งครรภ์ หรืออยากมีบุตรดีใจมากไปก็อาจมีอาการแพ้ท้องมากเช่นกัน
ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมน เช่น estrogen , HCG ที่ปริมาณมากเกินไป
อาการ
อาการไม่รุนแรง
1,1 อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้ง/วัน สามารถทำงานได้ตามปกติ
1.2 ลักษณะอาเจียนไม่มีน้ำหรือเศษอาหาร
1.3 น้ำหนักตัวลดลงเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
1.4 มารดาสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
อาการรุนแรงปานกลาง
2.1 อาเจียนติดต่อกันมากกว่า 5-10 ครั้ง/วัน
2.2 อาเจียนติดต่อกันไม่หยุดภายใน 2-4 ชั่วโมง
2.3 อ่อนเพลีย ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
2.4 น้ำหนักตัวลด มีอาการขาดสารอาหาร
2.5 มีภาวะเลือดเป็นกรด
อาการรุนแรงมาก
3.1 อาเจียนมากกว่า 10 ครั้ง/วัน ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ นอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
3.2 อาเจียนทันทีภายหลังรับประทานอาหาร และอาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์
3.3 เกิดการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
การวินิจฉัย
ประวัติการตั้งครรภ์มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนอย่างยาวนาน
จากการตรวจร่างกาย ในรายที่มีอาการรุนแรงมาก พบว่าน้ำหนักตัวลด ผิวหนังแห้ง ลิ้นแห้งเป็นฝ้า ฝีปากแห้งแตก ปากและฟันสกปรก
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การตรวจเลือดพบโซเดียม โปตัสเซียม และคลอไรด์ต่ำ SGOT และ Liver function test สูง, ฮีมาตคริตสูง, BUN สูง และโปรตีนในเลือดต่ำ
3.2 การตรวจปัสสาวะ พบว่ามีความถ่วงจำเพาะสูง ไข่ขาวในปัสสาวะเพิ่มขึ้น พบคีโตนในปัสสาวะ
การดูแลรักษา
ให้ดื่มของอุ่นๆ ทันทีที่ตื่นนอน เช่น นมชง โอวัลตินหรือน้ำอุ่น ประมาณครึ่งถึงหนึ่งถ้วย แล้วนอนต่อ
อีกประมาณ 15 นาที
แนะนำให้รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย เช่น ขนมปังปิ้ง หรือขนมปังแครกเกอร์ อาหารที่มีกลิ่น
หรืออาหารที่ทอดมีไขมันมากควรงดเว้น
ให้ยาระงับประสาท หรือยาแก้คลื่นไส้ อาเจียน ที่นิยมใช้ได้แก่ Dimenhydrinate, Promethazine,Dicylomine และ Doxylamine
ป้องกันมิให้ท้องผูก โดยให้ยาระบายอ่อนๆ จำพวกสกัดจากพืช และสวนอุจจาระให้ เมื่อท้องผูก
ให้วิตามินและแร่ธาตุ วิตามินที่สำคัญ ได้แก่ บี 1 บี 6 และบี 12
บันทึกอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง ตามความจำเป็น
ตรวจปัสสาวะหาความถ่วงจำเพาะ คีโตน คลอไรด์ และโปรตีนทุกวัน
ชั่งน้ำหนักตัวทุกวัน
อยู่ในที่สงบไม่มีผู้มารบกวน ให้ความเห็นอกเห็นใจและดูแลอย่างใกล้ชิด
4.1.2การตั้งครรภ์แฝด (Multiple pregnancy)
การดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์แฝด
1.3 การทำงานและการพักผ่อน ควรหลีกเลี่ยงงานที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ควรงดการทำงานหนัก
1.4 การทำจิตใจให้สบาย ผ่อนคลาย ไม่เครียดหรือวิตกกังวลมากเกินไป
1.2 การให้สตรีตั้งครรภ์แฝดรับประทานปริมาณอาหารมากกว่าสตรีตั้งครรภ์ปกติ
1.5 งดการมีเพศสัมพันธ์และการกระตุ้นเต้านม
1.1 แนะนำให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่เริ่มแรกของการตั้งครรภ์
1.6 การสังเกตอาการผิดปกติ เช่น ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว บวม เด็กดิ้นน้อยลง
1.7 ควรรับไว่ในรพ.เมื่ออายุครรภ์ 36 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อนในมารดา
การคลอดติดขัด (Obstructed labor)
การคลอดยืดเยื้อ (Uterine dysfuction)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios)
Vasa previa พบได้บ่อยขึ้น
รกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio placentae)
รกเกาะต่ำ (Placenta previa)
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดคลอด (Premature rupture of membranes)
การคลอดก่อนกำหนด (Premature labor)
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Gestation hypertension)
โลหิตจาง (Anemia)
ชนิดของครรภ์แฝด (Zygosity)
Monozygotic (Identical) twins เป็นแฝดแท้ (True twins)
Dizygotic (Fraternal) twins เป็นแฝดเทียม (False twins)
สาเหตุ
ยากระตุ้นดารตกไข่ด้แก่ Clomiphene citrate, Gonadotropin
ปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ ความสูงของร่างกาย
ภาวะทุพโภชนาการอาจลดการเกิดครรภ์แฝด
อายุและจำนวนครั้งของการคลอดบุตร
เชื้อชาติ (Race)
กรรมพันธุ์ (Heredity)