Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, นางสาว ณัฐธกานต์ …
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
ขบวนการแลกเปลี่ยน gas เกิดที่ถุงลมต้องส่งออซิเจนไปให้ถึง ให้เพียงพอ
อัตราการหายใจของเด็กในแต่ละวัย
ต่ำกว่า 2 เดือน ไม่เกิน 60 ครั้ง/นาที
2-12 เดือน ไม่เกิน 50 ครั้ง/นาที
1-5 ปี ไม่เกิน 40 ครั้ง/นาที
(O2 saturation) > 95-100 %
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ
อัตราการหายใจเร็วกว่าปกติ (tachypnea)
ลักษณะการหายใจ หายใจมีเสียงดังคล้ายเสียงคราง(stridor)
หายใจช้ากว่าปกติ (bradypnea)
หายใจลำบาก (dypnea)
การหายใจมีปีกจมูกบาน (nasal flaring)
เป็นลักษณะของการหายใจลำบาก
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง (retraction)
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง ของกระดูกหน้าอก ช่องระหว่างซี่โครง และใต้ซี่โครง
เสียงหายใจผิดปกติ
เกิดจากการที่ลมเข้าไปในท่อทางเดินหายใจที่มีความผิดปกติ
ประกอบด้วยเสียงต่างๆ
rhonchi sound
crepitation sound
wheezing
stridor sound
เสียงหายใจที่ผิดปกติ เป็นเครื่องแสดงว่าผู้ป่วยได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
กลไกการสร้างเสมหะ
ประกอบด้วย 3กลไก
การพัดโบกของขนกวัด Cilia
กลไกการไอ Cough Reflex
กระบวนการสร้างสารมูก Mucous
อะไรจะเกิดขึ้น...เมื่อมีการติดเชื้อ
การไออย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นกลไกที่จะช่วยป้องกันไม่ให้มีการคั่งค้างของเสมหะในหลอดลม
มีการทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดลมและทำลาย Cilia เพิ่มมากขึ้น จำนวน Cilia ก็ลดน้อยลง
ต่อมสร้างสารคัดคลั่ง (mucus gland)
จะสร้าง mucous เพิ่มมากขึ้น ทำให้เสมหะมากขึ้น
ทำไมต้องเพิ่มน้ำในผู้ป่วยที่มีเสมหะ
การดูแลให้ผู้ป่วยรับสารน้ำอย่างเพียงพอ ช่วยให้ความชุ่มชื้นต่อทางเดินหายใจ ทำให้เสมหะเหนียวน้อยลงขับออกได้ดี
ส่งผลให้ Cilia ทำหน้าที่ในการพัดโบกได้ดีขึ้น ผลให้ผู้ป่วยไอขับเสมหะออกมาง่ายขึ้น
ลักษณะของเสมหะ
เสมหะเหนียว
เสมหะเป็นมูกคล้ายแป้งเปียก อยู่ติดรวมกันเป็นก้อน
มีความยืด และความหนืดมาก ทําใหผู้ป่วยไอขับออกมาได้ยากผู้ป่วยมีเสมหะเหนียว
เสมหะไม่เหนียว
เสมหะมีลักษณะเป็นเมือกเหลว
มีความยืด และความหนืดน้อยไม่รวมตัวกันเป็นก้อน
ผู้ป่วยไอขับออกมาได้ง่าย
Croup
สาเหตุเนื่องมาจากมีการอักเสบที่บรเิวณ
ฝาปิดกล่องเสียง(acute epiglottitis)
กล่องเสียง (acute laryngitis)
กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ และหลอดลมฝอยในปอด (Laryngotracheobronch
อาการ
อาการน้ำลายไหล (drooling)
ไข้เจ็บคอ หายใจลําบาก Dyspnea
ไอเสียงก้อง Barking cough
inspiratory stridor หายใจเข้ามีเสียงฮึด
เป็นกลุ่มอาการอุดกลั้นทางเดินหายใจส่วนบนบรเิวณกล่องเสียง(larynx)และส่วนที่อยู่ใต้ลงมา
สาเหตุCroup เกิดจากการติดเชื้อ
virus
Bacteria
H.influenzae
S.pneumoniae
Tonsilitis / Pharyngitis
การผ่าตัดต่อมทอนซิล(tonsillectomy)
จะทําเมื่อมีข้อบ่งชี้ในเรื่องของ การติดเชื้อเรื้อรัง (chronic tonsillitis)เป็นๆหายๆ (recurrent acute tonsillitis)
มีไข้, เจ็บคอ, เจ็บคอมากเวลากลืนหรือกลืนลําบากอย่างเรื้อรัง
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ทําให้เกิดอาการนอนกรน (snoring)
มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (obstructive sleep apnea)
สงสัยว่าเป็นมะเร็งของต่อมทอนซิล (carcinoma of tonsils)
อาการ
ไข้ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอในรายทีมีตุ่มใสหรือแผลเป็นทีคอหอย หรือ เพดานปาก
สาเหตุจะเกิดจาก Coxsackie Virus เรียกว่า Herpangina
สาเหตุการติดเชื้อแบคทีเรียไวรัส
Beta Hemolytic
streptococcus gr. A
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด Tonsillectomy
หลังผ่าตัดควรให้เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง เพือสะดวกต่อการระบายของเสมหะ
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
เมื่อเด็กรู้สึกตัวดีควรจัดให้เด็กอยู่ในท่านัง 1-2 ชั่วโมง
ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)
สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
เป็นอาการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก
เมื่อเกิดการติดเชื้อจะทําใหเ้กิดการบวมของเยื่อบุในโพรงอากาศ
ระยะของโรค
Acute sinusitis ระยะของโรคไม่เกิน 12 สัปดาห์
Chronic sinusitis อาการจะต่อเนื่องเกิน 12 สัปดาห์
การดูแลรักษา ไซนัสอักเสบ sinusitis
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ยาแก้แพ้ ให้ใช้เฉพาะในรายทีไซนัสอักเสบเรื้อรังทีมีสาเหตุนํามาจากโรคเยื่อบุจมูกอัก เสบจากภูมิแพ้เท่านั้น เพื่อลดอาการจาม น้ำมูกไหล
ให้ยาSteroid เพื่อลดอาการบวม ลดการคั่ง ของเลือดที่จมูก
ให้ยาแก้ปวด ลดไข้เพือลดไข้และบรรเทาอาการปวดศีรษะ
ยาแก้แพ้ ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยเฉียบพลัน เพราะจะทำให้จมูกและไซนัสแห้ง
การล้างจมูก
ล้างจมูก วันละ 2-3 ครั้ง
ล้างจมูกด้วยน้ำเกลือความเข้มข้น 0.9 % NSS
หอบหืด Asthma
การมีความไวต่อสิ่งกระตุ้นทําให้เกิดพยาธิสภาพ 3 อย่าง
ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัว(Brochospasm)
ทำให้หลอดลมตีบแคบลง (Stenosis)
สร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก (Hypersecretion) ทําให้ช่องทางเดินอากาศในหลอดลมแคบลงทําใหเ้กิดอาการหอบหืด
อาการโรคหอบหืด
ถ้าไอมากขึ้นเรื่อยๆ ก็มักจะมีเสียง Wheezing
บางครั้งการเกร็งตัวของหลอดลมเกิดขึ้นไม่มากนัก ผู้ป่วยจะมีอาการไม่มาก แต่ก็เป็นอยูเรื่อยๆ
มักเริ่มต้นด้วยอาการ หวัด ไอ มีเสมหะ
ผู้ป่วยเด็กบางคนจะมีอาการไออย่างเดียว
ความรุนแรงของหอบหืด
ขั้นปานกลาง
ตื่นกลางคืนบ่อยๆ วิ่งเล่นซนไม่ค่อยได้
ขณะเล่นมักไอหรือมีเสียง Wheezing ไปด้วย
ขั้นเล็กน้อย
เริ่มไอ และ/หรือ มีเสียงวี๊ด
เล่นซนได้ตามปกติและทานอาหารได้ตามปกติ
ขั้นรุนแรง
กระสับกระส่ายจนนอนไม่ได้เล่นซนไม่ได้
เหนื่อยหอบจนพูดหรือกินอาหารไม่ได้ รอบริมปากเป็นสีเขียว กรณีอย่างนี้ต้องส่งโรงพยาบาล
การรักษาหอบหืด
การลดอาการของเด็กให้เด็กมีกิจกรรมได้ตามปกติ พยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งกระตุ้นและ การใช้ยาอย่างถูกต้อง
ยาขยายหลอดลม
มีทั้งชนิดพ่น และ ชนิดรับประทาน ชนิดพ่นจะให้ผลได้เร็ว ช่วยให้หายใจโล่งขึ้น
ยดลดอาการบวม และการอักเสบของหลอดลม
ควรใช้เพียงระยะสั้นๆ คือ 3 - 5 วัน เพื่อการรกัษา และป้องกันไม่ให้โรครุนแรงขึ้น
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง/และควรปฎิบัติ
ตัวไรฝุ่น
ไม่นำสัตว์เลี้ยงเข้าห้อง
ควันบุหรี่
หมอน ซักผ้าปูที่นอน ปลอกหมอนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
ไม่ควรมีตุ๊กตาที่มีขนในห้องนอน
การออกกำลังกาย
อากาศเย็น
การใช้ baby haler
ให้พ่นยาทิ้ง 1 ครั้ง เพื่อให้ยาจับผนัง ของ Spacer ก่อน เพื่อให้การพ่นครั้งต่่อๆไป
Baby haler ต้องล้างทําความสะอาดบ่อยๆ แต่ไม่จําเป็นต้องทุกครั้งหลังใช้
หลังล้างทําความสะอาด ต้องสอนผู้ป่วย
เป็นภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม (Chronic airway inflammation)
หลอดลมอักเสบ( Bronchitis) , หลอดลมฝอยอักเสบ(Bronchiolitis)
พบในเด็กเล็กมากกว่าเด็กโต อายุประมาณ 6 เดือนเป็นช่วงอายุที่พบบ่อยที่สุด
เชื้อที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด Respiratory syncytial virus : RSV
เด็กที่ไม่กินนมแม่จะพบได้ค่อนข้างสูงกว่าเด็กทั่วไป
อาการ
ต่อมาเริ่ม ไอเป็น ชุดๆ ร้องกวนหายใจเร็วหอบ หายใจมีปีกจมูกบาน
เริ่มจากไข้หวัดเพียงเล็กน้อย มีน้ำมูกใส จาม เบื่ออาหาร
การรักษา
รักษาตามอาการ ให้ยาลดไข้ยาปฏิชีวนะ ยาต้านนการอักเสบ(Corticosteroid ) ยาขยายหลอดลม
ุการดูแลให้ได้รับออซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลปัญหาการติดเชื้อ ดูแลเสริมสร้างภูมิต้านทานให้กินอาหารที่มีประโยชน์
เกิดขึ้นเนื่องจากมีการอักเสบ และอุดกลั้นของหลอดลม
ปอดบวม Pneumonia
เกณฑ์ที่องคก์ารอนามัยโลกใช้ตัดสิน Pneumonia
เด็กแรกเกิด อัตราการหายใจที่มากกว่า 60 ครั้งต่อนาที
เด็กอายุ1-5 ปีอัตราการหายใจที่มากกว่า 40 ครั้งต่อนาที
เด็กอายุ2 เดือนถึง 1 ปีอัตราการหายใจที่มากกว่า 50 ครั้งต่อนาที
อาการ
ไข้ ไอ หอบ ดูดน้ำ นมน้อยลง มีอาการซึม
สาเหตุ
สําลักสิ่งแปลกปลอม ติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
การรักษา
ดูแลแก้ไขปัญหาพร่องออกซิเจน ให้ยาขยายหลอดลม ยาขับเสมหะ ยาฆ่าเชื้อ
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลเรื่องไข้
ดูแลแก้ไขปัญหาพร่องออกซิเจน
การพยาบาลผู้ป่วยเด็ก Pneumonia
ปัญหาการอุดกั้นทางเดินหายใจเป็นปัญหาสําคัญจําเป็นต้องดูแลแก้ไข
เด็กโตต้องสอนการไออย่างถูกวิธี และกระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ
เสมหะอยู่ลึกให้ Postural drainage โดยการเคาะปอด และ Suction เพื่อป้องกันปอดแฟบ
การทำ Postural drainage จะช่วยทำให้เสมหะที่อยุ๋ส่วนปลายถูกกระตุ้นขึ้นมาถึงปลานสายดูด
จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
การพ่นยาในเด็ก
ข้อปฎิบัติในการพ่นยาแบบละออง Neubulizer
ไม่ควรใหเ้ด็กร้อง เพราะปริมาณยาจะเข้าสู่ปอดน้อยลง
ใช้มือประคองกระเปาะพ่นยาไว้
ถ้าไม่เห็นละอองยา หรือละอองยาออกไม่หนาแน่นเท่าที่ควรจะต้องสำรวจเครื่องพ่นยาทำงานหรือไม่
ออกซิเจนเปิด 6 – 8 ลติรต่อนาทีหรือไม่
เคาะกระเปาะพ่นยาเป็นระยะๆ เพื่อไม่ให้ยาตกค้างในกระเปาะมาก เกินไป พ่นจนกว่ายาจะหมด ใช้เวลา 10 นาที
face mask
เหมาะกับผู้ป่วยที่ต้องการออกซิเจนในระดับปานกลาง
ความเข้มข้นของ ออกซิเจนประมาณ 35%-50%
เปิดออกซิเจน flow rate 5-10 lit/min ไม่ควรให้น้อยกวา่ 5 lit/min
Nasal cannula
ข้อดีของออกซิเจนแบบนี้คือ ประหยัด ยึดติดกับผู้ป่วยง่าย
ในเด็กเล็กจะปรับอัตรา การไหลไม่เกิน 2 lit/mim ส่วนในเด็กโตจะปรับที 2 lit/mim
ประโยชน์ที่ผู้ป่วยได้รับ
ทําให้เสมหะที่เหนียวอ่อนตัวลง ง่ายต่อการระบายออกจากปอด
ให้ความชุ่มชื้นแก่อากาศหรือก๊าซที่หายใจเข้า
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการไอขับเสมหะได้ง่ายขึ้น
เป็นหนทางในการบริหารยาทางระบบหายใจ
Oxygen hood/Box
ลักษณะเป็นกล่องพลาสติก วางครอบศีรษะเด็ก
เหมาะกับทารกแรก เกิดและเด็กเล็ก
ความเข้มข้นของออกซิเจนประมาณ 30%-70%
การเปิดออกซิเจนไม่จำเป็นต้องมาก สามารถเปิด 3-5 lit/min
หลักการให้คำแนะนําในการดูแลเด็ก
การดูแลเด็กที่มีปัญหาพร่องออกซิเจน
หลักสําคัญคือต้องแก้ไขเส้นทาง ผ่านของออกซิเจน
การให้ออกซิเจนก็เลือกตามความเหมาะสมกับเด็ก
ตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การระบายเสมหะ
องค์ประกอบของการระบายเสมหะได้แก่
การสั่นสะเทือน Vibration
การเคาะ Percussion
การจัดท่า Postural drainge
การสอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ Effective cough
นางสาว ณัฐธกานต์ ศรีสวัสดิ์ รุ่น 36/1
เลขที่ 37 รหัสนักศึกษา 612001038