Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Personality disorder บุคลิกภาพแปรปรวน - Coggle Diagram
Personality disorder บุคลิกภาพแปรปรวน
ความหมาย
บุคลิกภาพแปรปรวน หรือบุคลิกภาพผิดปกติ (Personality disorder)
หมายถึง บุคคลที่มีบุคลิกภาพผิดแปลกหรือเบี่ยงเบนไปจากแบบแผนเดิมอย่างชัดเจนทั้งภายในและภายนอก หรือผิดปกติในลักษณะที่จัดว่าเป็นโรคทางจิตเวช โดยบุคคลนั้นไม่รู้สึกวิตกกังวลต่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของตนเอง
สาเหตุ
ด้านชีวภาพ (Biological factors)
Genetic / familial factors
พบได้สูงในฝาแฝดเหมือน (Monozygotic twins)
พบความผิดปกติได้สูงในญาติสายตรง
Neurotransmitter dysregulation
บางการศึกษาพบว่า serotonin มีระดับต่ำในผู้ที่มีพฤติกรรมพยายามฆ่าตัวตาย
พบระดับของ dopamine เพิ่มขึ้นในผู้ที่มีความผิดปกติของความคิด และการรับรู้
ฮอร์โมน บุคคลที่มีพฤติกรรมหุนหันพลันแล่น (Impulsive) มักจะพบ Testosterone และ estrone
Schizotypal personality disorder มีความสัมพันธ์กับ platelet monoamine oxidase
(MAO) ที่ต่ำและมี smooth pursuit eye movement ที่ผิดปกต
ด้านสิ่งแวดล้อม (Psychosocial / Environment stressors)
การเลี้ยงดูของพ่อแม่ เข้มงวด/ ลงโทษ ปล่อยตามใจ ทอดทิ้ง/ ทารุณกรรม
ความสัมพันธ์พ่อ-แม่-ลูกไม่ดี
อิทธิพลของคนใกล้ชิด
การขาดที่พึ่ง
การถูกกดขี่ หรือทารุณกรรมทางด้านจิตใจ
เกิดจากพัฒนาการตาม Psychoanalysis Theory
Psychoanalytic factors
ความไม่เหมาะสมของพัฒนาการในระยะต่าง ๆ ตามทฤษฎี Psychosexual
development ของ Freud (oral, anal, phallic stages)
โครงสร้างทางจิต ( Psychic structure : id, ego, superego) บกพร่อง
ประเภท
แบ่งตามระบบจำแนกขององค์การอนามัยโลก ครั้งที่ 10 ICD – 10(International Statistical Classification of Diseases and
Related Health Problems 10th Revision)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทหวาดระแวง (Paranoid personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทจิตเภท (Schizoid personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทเสียความสัมพันธ์ทางสังคม (Dissocial personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทอารมณ์ไม่คงที่ (Emotional unstable personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทเรียกร้องความสนใจมากเกิน (Histrionic personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทระมัดระวังมากเกิน (Anankastic personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทกังวลกลัวหรือหลีกเลี่ยง (Anxious or avoidance personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทพึ่งพา (Dependent personality disorder)
แบ่งตามระบบจำแนกของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน ครั้งที่ 5 DSM-V (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders)
Cluster B บุคลิกภาพแปรปรวนกลุ่มพฤติกรรมทางอารมณ์มากเกิน (Dramatic, Emotional
or Erratic behaviors)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทต่อต้านสังคม
(Antisocial personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทคาบเส้น
(Borderline personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทเรียกร้องความสนใจมากเกินไป
(Histrionic personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทหลงตัวเอง
(Narcissistic personality disorder)
Cluster C บุคลิกภาพแปรปรวนกลุ่มพฤติกรรมกังวลกลัว
(Anxious or fearful behaviors)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทหลีกหนี
(Avoidant personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทพึ่งพา
(Dependent personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทย้ำ
คิด (Obsessive personality disorder)
Cluster A บุคลิกภาพแปรปรวนกลุ่มพฤติกรรมประหลาด (Odd or Eccentric behaviors)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทหวาดระแวง (Paranoid personality disorder) เป็นผู้ที่มีแบบแผนพฤติกรรมขาดความไว้วางใจ ขี้สงสัย ระมัดระวัง และมีความรู้สึกไวมากต่อความผิดหวัง มักแปลเจตนาของผู้อื่ นเป็นความประสงค์ร้ายต่อตนเอง ข่มขู่ ดูหมิ่น
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทคล้ายจิตเภท (Schizoid personality disorder) เป็นผู้ที่มีแบบแผนพฤติกรรมหลีกเลี่ยงความสัมพันธ์ทางสังคม ไม่ชอบการแข่งขัน
ชอบแยกตัวจากสังคม สนใจในกิจกรรมที่ไม่ต้องติดต่อกับผู้คน และยับยั้งการแสดงออกทางอารมณ์ของตนเอง ชอบเพ้อฝันตามจินตนาการของตนเอง
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทจิตเภทแฝง
(Schizotypal personality disorder) เป็นผู้ที่มีแบบแผนพฤติกรรมที่สะท้อนถึงความไม่สุขสบายเมื่อต้องสัมพันธ์ใกล้ชิดกับผู้อื่ น ความผิดปกติปรากฏในเรื่องเกี่ยวกับการรับรู้หรือการคิดและพฤติกรรมที่แปลกประหลาด เชื่อในอำนาจพลังวิเศษ โชคลาง เรื่องสัมผัสที่หก มักมีคำพูดแปลก ๆ ที่คนอื่นเข้าใจ
*Other บุคลิกภาพแปรปรวนกลุ่มอื่น ๆ
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทดื้อเงียบ (Passive-aggressive personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทซึมเศร้า (Depressive personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทชอบความรุนแรง (Sadistic personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทชอบทำร้ายตัวเอง (Self-defeating personality disorder)
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทชนิดไม่เข้าพวก (personality disorder NOS (Not Otherwise
Specified))
การดำเนินโรค
บุคลิกภาพแปรปรวนมักจะเริ่มแสดงอาการผิดปกติตั้งแต่ในช่วงระยะวัยรุ่นหรือในช่วงผู้ใหญ่ตอนต้น และจะมีอาการอยู่เป็นระยะเวลานาน
บุคลิกภาพแปรปรวนแบบ antisocial และ borderline อาการรุนแรงน้อยลงเมื่ออายุมากขึ้น แต่บุคลิกภาพแปรปรวนแบบ obsessiveและschizotypal อาการจะรุ่นแรงมากขึ้นเมื่ ออายุมากขึ้น
การวินิจฉัย
A. บุคคลที่มีลักษณะการดำเนินชีวิตแตกต่างไปจากบุคคลอื่นที่อยู่ร่วมวัฒนธรรม
เดียวกับตน โดยมีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อย 2 อย่าง
มีการรับรู้เกี่ยวกับตนเอง หรือต่อผู้อื่น หรือต่อเหตุการณ์ที่คลาดเคลื่อน
มีอารมณ์ตอบสนองที่ไม่มั่นคง อาจมากหรือน้อยเกินไป ไม่เหมาะสม
มีปัญหาด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น
มีพฤติกรรมที่หุนหันพลันแล่น
B. ลักษระดังกล่าวค่อนข้างเป็นอยู่ตลอด และไม่ยืนหยุ่นตามสถานณ์
C. เกิดปัญหาอย่างมากในด้านอาชีพ การทำงาน หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสังคมที่สำคัญ
อย่างอื่น
D. ลักษณะจะคงที่และเป็นระยะเวลายาวนาน อาการเริ่มเป็นมาตั้งแต่วัยรุ่น หรือวัยหนุ่มสาว
E. อาการดังกล่าวไม่ใช่อาการของโรคทางจิตเวช หรือไม่ได้เกิดจากภายหลังบุคคลเป็นโรค
F. อาการดังกล่าวไม่ได้เกิดจากการใช้สารเสพติด ยารักษาโรคหรือโรคทางกาย
การรักษา
การรักษาบำบัดที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีผลดีกับ กลุ่ม Paranoid Schizotypal Borderline Narcissistic และ Obsessive ซึ่งมีเหตุปัจจัยจากสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
การบำบัดจิตที่เน้นการวิเคราะห์จิต มีผลดีกับ กลุ่ม Histrionic
การบำบัดที่เน้นการใช้ประโยชน์จากลุ่มหรือสิ่ งแวดล้อม มีผลดีกับ กลุ่ม Antisocial
4.การบำบัดที่พฤติกรรม มีผลดีกับ กลุ่ม Antisocial Avoidant และ Obsessive
การรักษาด้วยยาทางจิต มีผลดีกับ กลุ่ม Schizotypal Paranoid Anxious และ Antisocial