Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน(Precipitate labor) - Coggle Diagram
การคลอดเฉียบพลัน
(Precipitate labor)
คือ
การคลอดที่เกิดข้ึนเร็วผิดปกติคือรวมระยะเวลาการคลอดของระยะที่ 1,2และ 3ของการคลอดเกิดข้ึนภายใน 3 ชั่วโมง หรือในระยะ active มีการเปิดขยายของปากมดลูก ในครรภ์แรก 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง (1 เซนติเมตรทุก 12 นาที) และในครรภ์หลัง 10เซนติเมตร/ชวั่ โมง (1 เซนติเมตรทุก 6 นาที) หรือความถี่ในการหดรัดตวัของมดลูกมากกว่า 5 คร้ังใน 10นาที
อุบัติการณ์
พบได้2%ของภาวะคลอดทั้งหมด เกิดขึ้นครรภ์หลัง93%
สาเหตุ
เกิดจาก
1.เนื้อเยื่อของช่องทางคลอดมีแรงเสียดทานต่ำ
การหดรัดตัวของกลา้มเนื้อมดลูก และกลา้มเน้ือหนา้ทอ้งแรงผิดปกติ
การตั้งครรภ์หลัง
สภาพเชิงกรานกว้าง
มีประวัติการคลอดเฉียบพลัน
มารดาไม่มีความรู้สึกเจบ็ ปวดจากการคลอด
ทารกตัวเล็ก
การได้รับยากระตุน้การหดรัดตวัของมดลูกมากเกินไป
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
เจ็บครรภ์จริง
การเจ็บครรภ์เตือน
ลักณะการเจ็บครรภ์
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
อายุมารดาที่ยังน้อย
ประวติคลอดในครั้งก่อนๆ
การตั้งครรภ์ที่ผิดปกติ
ได้รับยากระตุ้นมากเกินไป
การตรวจร่างกาย
ดู คลำ ฟัง
การตรวจเฉพาะด้วยการตรวจภายใน
การตรวจภายใน
การใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ (electro fetal monitor)
อาการและอาการแสดง
ได้แก่
1.มดลูกหดรัดตัวถี่และแรง
.2 มารดาอยากเบ่งในขณะที่ปากมดลูกยงัเปิดไม่หมด
3 ปากมดลูกถ่างขยายเร็วไม่สัมพนัธ์กบัระยะเวลาความกา้วหนา้ของการคลอด
ผลกระทบต่อมารดา
1.ตกเลือดหลังคลอด
2.เกิดการติดเช้ือบริเวณแผลที่ฉีกขาด
3.เกิดการปลิ้นของมดลูก(Inversion of uterus)
4.น้า คร่ าอุดตนั ในหลอดเลือดปอด (Amniotic fluid embolism)
ผลกระทบต่อทารก
การหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรงทำให้ทารกขากออกซิเจน
ศีรษะทารกที่ผา่นเขา้ในช่องทางคลอดอย่างรวดเร็วขาดการปรับตัวอาจทำ ใหทารกเกิดการบาดเจ็บ
ศีรษะทารกได้รับอันตรายจากการรับไม่ทันทำให้ทารกตกลงบนพ้ืน
ทารกไม่ได้ดูดน้ำคล่ำในปอดและจมูกเกิดการสำลักน้ำคร่ำเกิดภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
ทารกมีเลือดในสมอง
อาจเกิดการติดเชื้อ
ทารกเสียเลือดเนื่องจากสายสะดือขาด
การรักษา
ลดการกระตุ้นฝีเย็บ
หลังคลอดควรตรวจสภาพการฉีกขาดหรือการบาดเจ็บ
ให้ยาสลบ
การให้ยา
ให้ metherginเพื่อป้องกันการตกเลือด
ใหย้าฆ่าเช้ือ(antibiotic)
การพยาบาล
มารดาที่มีประวัติการคลอดเร็ว ตอ้งระมดัระวงัในการให้การพยาบาลเพื่อการป้องกันการคลอดเฉียบพลัน
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินการเปิดขยาย และความบางของปากมดลูกเมื่อมารดาอยากเบ่ง
พามารดาเข้าห้องคลอดเมื่อปากมดลูกเปิด 5 ซม.
ดูแลตามอาการ
กระตุ้นให้มารดาหายใจแบบตื้นๆเร็วๆเบาๆ
ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวณฝีเย็บ
ในกรณีมารดาไม่หยุดเบ่งและหัวทารกออกมาให้มารดาอ้าขาออก
จับให้ทารกนอนศีรษะต่า ตะแคงหน้าไปด้านใดดา้นหน่ึงเพื่อดูดน้ำคร่ำ
ดูแลระยะหลังคลอดอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการตกเลือด
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์