Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME - Coggle Diagram
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME
คือ
การสําลักเอาขี้เทาที่อยู่ในนํ้าครํ่าเข้าปอดในทารกแรกเกิด
มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกตื้นๆ และไม่สมํ่าเสมอ ตั้งแต่อายุประมาณ 24 สัปดาห์
มีความถี่ประมาณ 30-90 ครั้งต่อนาที
เมื่ออายุครรภ์ ประมาณ 34 สัปดาห์ การเคลื่อนไหวของทรวงอกจะสมํ่าเสมอ มากขึ้น
อัตราการเคลื่อนไหวจะมีค่าประมาณ 40-60 ครั้งต่อนาที
การเคลื่อนไหวนี้จะทําให้ lung fluid ของทารกมี การเคลื่อนที่ใน tracheobronchial tree
ทําให้ lung fluid เคลื่อนจากถุงลมทารกสู่นํ้าครํ่า ได้ ในภาวะปกติจะไม่มีนํ้าครํ่าเคลื่อนที่เข้าสู่ปอด
การขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์เนื่องจากความ ผิดปกติของรกในการแลกเปลี่ยนก๊าซ จะกระตุ้นให้ทารกในครรภ์มีการหายใจ (grasping respiration) ทําให้นํ้าครํ่าเคลื่อนที่เข้าสู่ปอดทารกได้
ทารกที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้ได้แก่
ทารกคลอดที่ครรภ์เกินกําหนด
นํ้าหนักแรกคลอดตํ่า
การคลอดนานทางช่องคลอด
มารดามีความดันเลือดสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์เป็นพิษและมารดา
มีนํ้าหนักมากเกินกว่าปกติขณะตั้งครรภ์
พยาธิสรีรวิทยาของโรค
การขาดออกซิเจนในระหว่างการคลอด
ทําให้ขี้เทาถูกบีบออกมาอยู่ในนํ้าครํ่า
การหายใจที่เกิดขึ้น ทําให้ทารกสําลักขี้เทานี้เข้าสู่ ทางเดินหายใจ
หากขี้เทามีขนาดใหญ่จะอุดตันหลอดลมใหญ่ๆ
แต่หากการสําลักก้อนเล็กๆและกระจายอยู่ทั่วไป อุดตัน ท่อลมเล็กๆ เป็นการอุดตันอย่างสมบูรณ์
เกิดภาวะ ball valve mechanism
อากาศถูกกักอยู่ในถุงลมใต้ต่อตําแหน่งที่ถูกอุดตันทําให้ บริเวณนั้นมีภาวะ hyperinflation
เกิดภาวะ pneumothoraxหรือ pneumomediastinum ได้
เกิดภาวะออกซิเจนในเลือดตํ่าลงมีคาร์บอนไดออกไซด์ สูงขึ้น
ทําให้เลือดเป็นกรด
แรงดันเลือดในปอดสูงขึ้น
อาการแสดง
ทารกที่เป็น MAS มักเป็นทารกที่คลอดครบกําหนด หรือเกินกําหนด
มีประวัติ fetal distress
Apgar score ตํ่า
มีขี้เทาในนํ้าครํ่า(thick mecomiumstained amniotic fluid)
ความรุนแรงแบ่งเป็น 3 ระดับ
รุนแรงน้อย
ทารกจะหายใจเร็วเพื่อเพิ่ม minute ventilation
ทําให้ความดันคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของเลือด
เข้าสู่ภาวะปกติ
อาการจะหายไปภายใน 24 ชั่วโมง
รุนแรงปานกลาง
ทารกจะมีอาการของการกดการหายใจ
หายใจเร็ว
ช่องซี่โครงยุบลงขณะหายใจ
เขียวคลํ้า
อาการจะค่อยๆ ทวีความรุนแรง
มีความรุนแรงสูงสุดภายใน 24 ชั่วโมง
มักหายได้ภายใน 4-7 วันหากไม่มีอาการแทรกซ้อน
รุนแรงมาก
ทารกจะมีการหายใจล้มเหลวทันทีหลังคลอด
หรือ 2-3 ชั่วโมงหลังคลอดอาการของกดการหายใจชัดเจน
ฟังเสียงปอดได้ rhonchi และ crackle
อาจมีอาการเลือดขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
ไม่ดีขึ้นเมื่อให้ออกซิเจนเนื่องจากภาวะของแรงดันเลือด ในปอดที่สูงมาก
การรักษา
เตรียมอุปกรณ์ในการดูดเสมหะและเครื่องมือในการ ใส่ท่อช่วยหายใจและอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจนให้พร้อม
มีความเสี่ยงต่อการสําลักขี้เทาให้ใช้ลูกยางแดงดูดทาง ปากและจมูกเมื่อศีรษะทารกพ้นจากช่องคลอด
ในรายที่มีขี้เทาที่เหนียวและปริมาณมากจะใส่ท่อช่วย หายใจและดูดขี้เทาออกทางท่อช่วยหายใจ
หลังจากดูดออกหมดแล้วหากทารกไม่หายใจควรให้แรงดัน บวกผ่านทางท่อช่วยหายใจ
หลังจากนั้นจะดูดขี้เทาจากกระเพาะอาหาร โดยการดูดจาก สายยางให้อาหารผ่านทางจมูกหรือปาก