Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9 อาหารที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่9 อาหารที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ
ตับ ตับอ่อนผิดปกติ
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคตับ ตับอ่อนผิดปกติ
อาหารบําบัดโรคตับแข็ง
ระยะแรกรับโปรตีนปริมาณเหมือนคนทั่วไปประมาณวันละ ่ 6-12 ช้อนโต๊ะ
หากมีโรคทางสมองร่วมจะลดให้มาเหลือประมาณวันละ 2-3 ช้อนโต๊ะหรืองดโปรดตีนสักระยะ
แพทย์จะสั่งเพิ่มหรือลดปริมาณโปรตีนให้เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละราย
อาหารบําบัดโรคมะเร็งตับ
ควรได้รับโปรตีนเพิ่มขึ้นเป็ น 1.5 กรัมต่อนํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม
ไม่ควรบริโภคธัญพืช ผักใบเขียวในปริมาณมากเกินไป
รับประทานคาร์โบไฮเดรตประเภทข้าว นํ้าหวาน (ผู้ป่วยไม่เป็นเบาหวาน)
อาหารบําบัดโรคตับอักเสบ
ควรได้รับพลังงานวันละ ะประมาณ 2500 – 3500 แคลอรี
ควรได้รับอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตวันละ 300 – 400 กรัม
ควรได้รับอาหารที่มีโปรตีนวันละ 75 – 100 กรัม (ควรเป็นโปรตีนจากเนื้อสัตว์)
ปกติควรได้รับอาหารที่มีไขมันประมาณร้อยละ 25 - 30 ของ
พลังงานที่ควรได้ทั้งวัน
โรคเบาหวาน
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
กินอาหารที่มีแอนตี้ออกซิเดนซ
กินอาหารที่มีจุลินทรีย์สุขภาพ
เลือกกินชนิดไขมันที่ช่ วยลดคอเรสเตอรอลที่ไม่ดี(LDL)
เลือกคาร์โบไฮเดรตชนิดดีกิน
รู้จักเลือก รู้จักลด และงดอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
ลดและงดไขมันที่ได้จากผลิตภัณฑ์สัตว์ และไขมันทรานซ์
.ลดอาหารหมักดองและอาหารเค็มจัด
ลดและงดคาร์โบไฮเดรตชนิดไม่ดี
เลือกกินเนื้อสัตว์อย่างฉลาด
กินโดยควบคุมปริมาณอาหารจากพลังงานที่ต้องการในแต่ละวัน
เรียนรู้และนับคาร์บกับอาหารแลกเปลี่ยน
โรคเก๊าท์
การปฏิบัติตัว
ในรายที่อ้วนต้องควบคุมน้ำหนักตัว
หลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพรินและยาขับปัสสาวะ
ดื่มน้ำสะอาดมา ๆ
ออกกำลังกาย
งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือไวน์
ปรึกษาแพทย์หรือมาพบแพทย์สม่ำเสมอ
ควบคุมหรือจํากัดอาหารประเภทที่มีกรดยูริกสูง
อาหารที่มีปริมาณพิวรีน
อาหารที่มีพิวรีนปานกลาง (ผู้ป่วยโรคเก๊าท์รับประทานได้ปริมาณจำกัด)
ปลากะพง ปลาหมึก
ถั่วลิสง ดอกกระหลํ่า สะตอ หน่อไม้
เนื้อหมู วัว
อาหารที่มีพิวรีนน้อย
ลูกเดือย ข้าวโพด
ผัก ผลไม
นม ธัญพืช
อาหารที่มีพิวรีนมาก (ผู้ป่วยโรคเก๊าท์ควรงด)
ปลาอินทรีย์ ปลาดุก
ตับอ่อน หัวใจ
ถั่วเหลือง ชะอม กระถิน
สาเหตุ
กรดยูริก เป็นสารที่ตับสร้างขึ้น เกิดจาการตัวของพิวรี
แหล่งที่มาพิวรีน
อาหารที่รับประทาน เช่น เครื่องในสัตว์ ผักบางชนิด
การสลายตัวของเซลล์ในร่างกาย
โรคไต
ประเภทอาหารที่ใช้คุมโรคไต
อาหารเพิ่มโซเดียม
ใช้อาหารที่มีรสเค็ม
กินเนื้อสัตว์ที่ปรุงเค็มให้มากขึ้น
กินอาหารที่มีโซเดียมมากตามธรรมชาติเพิมขึ้น
ใช้เครื่องปรุงรสเค็ม
อาหารจํากัดโปตัสเซียม
ใช้ในผู้ป่วยโรคไตระยะปัสสาวะได้น้อย
อาหารจํากัดโซเดียม
จำกัดปานกลาง
จำกัดอย่างมาก
จำกัดอย่างเข้มงวด
จัดกัดเพียงเล็กน้อย
จำกัดอย่างเบาที่สุด
อาหารจํากัดฟอสเฟต
ใช้ในผู้ป่วยที่ไตขับถ่ายของเสียได้น้อย
ผู้ป่วยที่มีฟอสเฟตในเลือดสูง
อาหารเพิ่มโปรตีน
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีฟอสเฟตมาก
ควรเป็นโปรตีนที่มีคุณภาพสูง
จํากัดโปรตีนในอาหาร ควรให้อาหารที่มีพลังงานมาก
ควรได้รับโปรตีนวันละ 1.2 – 1.5 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กก.
อาหารที่เพิ่มโปตัสเซียม
ใช้ในผู้ป่วยโรคไตระยะปัสสาวะมาก
อาหารจํากัดโปรตีน
ประมาณ 20 – 40 กรัมต่อวัน
โรคความดันโลหิตสูง
อาหารบําบัดโรคความดันโลหิตสูง
ควบคุมน้ำหนัก
ลดการบริโภคโซเดียม
ลดความถี่และปริมาณการกินอาหารที่มีนํ้าจิ้ม
หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่ สารกันเสีย ที่มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ
หลีกเลี่ยงอาหารสําเร็จรูป
ปรุงอาหารด้วยเครื่องเทศ หรือสมุนไพร
ลดความเค็มในอาหาร
งดหรือลดอาหารที่มีไขมันมาก
งดบุหรี่ และเครื่องแอลกอฮอล์
ควรออกกําลังกายอย่างสมํ่าเสมอ ให้เหมาะสมกับวัย
โรคหัวใจ
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคหัวใจ
ใช้นํ้ามันในการปรุงอาหารแต่พอควร
ดื่มนมประเภทไขมันต่ำหรือไม่มีไขมัน
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทําจากไข่แดง และไขมันอิ่มตัว
ลดการกินอาหารเค็ม
หลีกเลี่ยงอาหารทอด และผลิตภัณฑ์เบเกอรี่
. กินผัก ผลไม้ เป็นประจํา
งดนํ้ามันมะพร้าว นํ้ามันปาล์ม
หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา กาแฟ และงดการสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง
ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง
พักผ่อนให้เพียงพอ
อาหารที่ทำให้ไขมันสูง
อาหารที่มีไขมันทรานส์
อาหารที่มีคอเลสเตอรอล
เครื่องในสัตว์
สัตว์ปีก
ไข่แดง เนื้อสัตว์ไขมันสูงและผลิตภัณฑ์ นมที่มีไขมันสูง
สัตว์น้ำประเภทที่มีเปลือก
อาหารที่มีกรดไขมันอิ่มตัว
เนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูง
ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว
ผลิตภัณฑ์จําพวกนม
นํ้ามันปาล์ม นํ้ามันมะพร้าว
โรคเอดส์
ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยโรคเอดส์
อาการท้องเสีย
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันปริมาณสูง
ควรหลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟ
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเอดส์
ผลิตภัณฑ์จากนม
ไขมันจากพืชและสัตว์
เนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว
สุขลักษณะอนามัยด้านอาหารของผู้ป่วยโรคเอดส์
ล้างผักและผลไม้ให้สะอาดก่อนรับประทาน
เก็บอาหารเป็นสัดส่วนแยกอาหารที่สุกแล้ว ยังไม่สุก
หลีกเลี่ยงการทานอาหารดิบ อาหารหารเสริมจุลินทรีย์
ผู้ป่วยที่มีระดับ CD4 ตํ่ากว่า 200 cell/mm3 ควรดื่มนํ้าที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว
ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนทานอาหาร
โรคมะเร็ง
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคมะเร็ง
นม เลือกนมวัวไขมันตํ่า
สามารถปรุงรสด้วยมะนาวหรือผักสมุนไพร
ไข่ กินได้ทั้งไข่แดง ไข่ขาว วันละ 1-2 ฟอง
กินอาหารแช่เย็น
กินอาหารที่มีโปรตีนสูง
ช่วยบรรเทาให้อาการเจ็บแสบลดลง
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
อาหารที่เพิ่งปรุงรสเสร็จกําลังร้อนจัด
อาหารหรือผลไม้รสเปรี้ยวจัด
อาหารเผ็ด
อาหารที่มีลักษณะแข็งที่จะทําให้เจ็บเวลาเคี้ยว
ผู้ป่วยมีปัญหาเม็ดเลือดขาวตํ่า
กินอาหารประเภทโปรตีน
ผู้ป่วยที่มีอาการท้องผูก
กินธัญพืชที่ขัดสีน้อย
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
โรคระบบทางเดินอาหาร
โรคกระเพาะอาหาร
ข้อควรปฏิบัติ
รับประทานอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย
งดสูบบุหรี่
รับประทานอาหารให้ตรงเวลา
รับประทานในแต่ละมื้อไม่ควรมีปริมาณมากเกินไป
หลีกเลี่ยงสิ่งระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร
พยายามลดความเครียด
ออกกําลังกายสม่ำเสมอ
รับประทานยาลดกรด
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคกระเพาะ
อาหารมีรสอ่อน
อาหารจําพวกโปรตีน ช่วยลดกรดในกระเพาะ
อ่อนนุ่ม
เป็นอาหารที่อยู่ในกระเพาะได้นานพอสมควร
สาเหตุ
มีอุปนิสัยการรับประทานที่ไม่ถูกต้อง
การสูบบุหรี่ เพิมโอกาสเสี่ยงของการเป็นที่แผลที่ลําไว้เล็กส่วนต้น
อาหารที่ไม่เหมาะกับผู้ป่วยโรคกระเพาะ
เครื่องดื่ม เครื่องดื่มจําพวก ชา กาแฟ
ผัก ผลไม้ดิบ
เครื่องเทศต่างๆ
ผัก ผลไม้ที่มีก๊าซมาก
โรคถุงนํ้าดีอักเสบ
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคถุงน้ำดีอักเสบ
อาหารที่มีไขมันน้อย ไม่ควรเกินร้อยละ 25 ของพลังงานทั้งหมด
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันมาก
อาหารที่ไม่เหมาะกับผู้ป่วยโรคถุงน้ำดีอักเสบ
อาหารที่มีก๊าซมาก
ผลไม้ที่มีก๊าซมาก
อาหารที่มีไขมันมาก
โรคอ้วน
พลังงานสําหรับผู้หญิงที่ 1500-1600 กิโลแคลอรี
พลังงานสําหรับผู้ชายที่ 1800-2000กิโลแคลอรี
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคอ้วน
เลือกบริโภคอาหารที่มีพลังงานตํ่า ไขมันตํ่า หวานน้อย ใยอาหารสูง
เลือกดื่ม ชา กาแฟ ที่ไม่ใส่น้ำตาล
ลดการรับประทานอาหารกลุ่มพลังงานสูง
เลือกดื่มน้ำอัดลมที่ไม่มีน้ำตาล (ไม่ควรเกิน 2แก้วต่อวัน)
ควบคุมพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
เลือกเมนูผ่านการปิ้ง นึ่ง อบ ย่าง ต้ม ตุ๋น แกงไม่ใส่กะทิ
เลือกรับประทานกลุ่มเนื้อสัตว์ไขมันตํ่า คลอเลสเตอรอลตํ่า
หลีกเลี่ยง อาหารที่มีไขมันทรานซ์
โรคขาดสารอาหาร
โรคขาดโปรตีนและแคลอรี
ควาชิออร์กอร์ (kwashiorkor)
มาราสมัส (marasmus)
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยขาด Vitamin A , D , E , K , C ,B1 , B2 , B3 , B6 , B12 , โฟเลท
เมล็ดทานตะวัน
เนื้อสัตว์
นม ไข่ ตับ พืชใบเขียว
ถั่วเปลือกแข็ง
ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว
เมล็ดพืช
ข้าว
เครื่องใน
ไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก
พลังงานวันละประมาณ 50 – 70 แคลอรี่ต่อนํ้าหนักตัว 1กิโลกรัม
วิตามินและเกลือแร่
โปรตีน
น้ำ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัด
สารอาหารอาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
พลังงาน ประมาณวันละ 2500 – 3000แคลอรี่
วิตามินและเกลือแร่
โปรตีน
น้ำ
อาหารอาหารที่ไม่เหมาะกับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
อาหารสุก ๆ ดิบ ๆ
อาหารหมักดอง