Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ …
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
การบาดเจ็บจากการคลอด
Caput succedaneum
ความหมาย
เกิดการคั่งของชองเหลวระหว่างชั้นหนังศรีษะกับชั้นหุ้มกระโหลกศรีษะมีขอบเขตไม่แน่นอน
สาเหตุ
แรงดันที่กดลงบริเวณศรีษะระหว่างการคลอดท่าศรีษะ
มีของเหลวซึมออกมานอกหลอดเลือด
V/ E
การวินิจฉัย
การคลำศีรษะทารกแรกเกิด พบก้อนนุ่มบวม บุ๋ม กดไม่เจ็บ เคลื่อนไหวได้ พบทันทีหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
พบได้บริเวณด้านข้างของศีรษะ
ศีรษะยาวมากกว่าปกติ
แนวทางการรกษา
หายเองได้ภายในไม่กี่ชั่งโมงหลังคลอด ประมาณ 3 วันถึง2-3 สัปดาห์ ขึ้นอยู่กับก้อนบวม
Cephalhematoma
ความหมาย
การคั่งของเลือดบริเวณใต้เยื้อหุ้มกระดูกกโหลกศีรษะ ขอบชัดเจน พบมากที่กระดูก parietal
สาเหตุ
มารดามีระเวลาการคลอดยาวนาน
ศีรษะถูกกดจากช่องคลอด
V/E
หลอดเลือดฝอยบริเวณเยื้อหุ้มกระโหลกศีรษะทารกฉีกขาด
เลือดซึมชั้นใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ
ภาวะแทรกซ้อน
Hyperbilirubinemia, อาจติดเชื้อจากการดูดเลือดออกจากศีรษะ
การวินิจฉัย
มารดาใช้เวลาคลอดนาน ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูนยากาศ ทารกแรกเกิดมีก้อนโนบนศีรษะคลำขอบได้ชัดเจน
อาการและอาการแสดง
เห็นชัดเจนภายใน 24 ชั่วโมงหลังเกิด มีขอบเขตชัดเจน อาการรุนแรงพบทันทีหลังคลอด พบก้อนโนสีดำหรือน้ำเงินคล้ำ
แนวทางการรักษา
ถ้าไม่มีภาวะแทรซ้อนก้อนโนจะค่อยๆหายไป อาจใช้เวลาเป็นสัปดาห์ ก้อนขนาดใหญ่อาจดูดออก
Subconjunctival hemorrhage
การมีจุดเลือดออกที่ตาขาว sclera ของทารกแรกเกิด มักพบรอบกระจกตา
สาเหตุ
เกิดจากการที่มารดาคลอดยาก
ศีรษะทารกถูกกด
หลอดเลือดที่เยื่อบุนัยน์ตาแตก
การวินิจจัย
ตรวจพบเลือดออกที่เยื่อบุนัยน์ตาหลังคลอด
แนวทางการรักษา
หายเองได้ 2-3 สัปดาห์
Facial nerve palsy
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
โดยเฉพาะในรายทคลอดยาก
ภาวะแทรกซ้อน
corneal ulcer
แนวทางการรักษา
หายเองได้ หยอดนำตาเทียมเพื่อป้องกันการเกิดแผลที่กระจกตา
:red_flag:แต่ถ้าโดยทำลายมากอาจเกิดถาวร
Brachial plexus palsy
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงแขนได้รับบาดเจ็บจากการทำคลอด ทำให้เกิดอัมพาตที่upper armหรือforearm ส่วนของข้อศอกข้อมือ
สาเหตุ
macrosomia
การทำคลอดไหล่ที่รุนแรงสอดแขนใต้รักแร้
ทำคลอดท่าศีรษะผิดวิธี
การทำคลอดแขนให้อยู่เหนือศีรษะในรายทารกใช้ก้มเป็นส่วนนำ
ประเภท
Erb – Duchenne paralysis
ได้รับบาดเจ็บที่ cervical nerve 5 – 6
กล้ามเนื้อที่ได้รับการกระทบกระเทือนได้แก่กล้ามเนื้อต้นแขนdeltoid
Klumpke’ s paralysis
เส้นประสาทที่ได้รับบาดเจ็บC7,8 – T1
ทำให้ทารกมีข้อมืองอ มือบิดเข้าใน Horner’s syndrome :red_flag:miosis ptosis enophthalmos ต่อมเหงื่อไม่ทำงาน
Combined หรือ Total brachial plexus injury
เส้นประสาทได้รับบาดเจ็บ C5 – T1 ถ้าเส้นประสาทคอC3 – C4 ถูกทำลายด้วยทำให้เกิดparalysis of diaphragm
ภาวะแทรกซ้อน
กล้ามเนื้อแขนลีบ
การวินิจฉัย
คลอดยากคลอดติดไหล่ แรกเกิดทารกไม่ยกแขน
ทดสอบ moro reflex ทารกยกแขนข้างเดียว
อาการและอาการแสดง
Erb – Duchenne paralysisไม่มีอาการผวา
(moro reflex)ยังกำมือ(grasp reflex)
Klumpke’s paralysis อาการintrinsic musclesอ่อนแรง ยังมีการผวา reflex ดี มีHorner’s syndrome ถ้า sympathetic fiber
ของเส้นประสาทคู่ที่มาเลี้ยง กล้ามเนื้อหน้าอกคู่ที่ 1 ได้รับบาดเจ็บด้วย
Total brachial plexus injury กล้ามเนื้อทั้งแขนและมือของทารกจะอ่อนแรง ไม่มีปฏิกิรยิาสะท้อนกลับ (reflexs) ทั้งหมด
การรักษา
ให้เริ่มทํา passive movement เมื่อเส้นประสาทยุบบวม
โดยทั่วไปจะรอจนกว่า ทารกอายุ7 –10 วน
ให้แขนอยูนิ่ง (partial immobilization)
ให้อยู่ในท่าที่เหมาะสมโดยให้ยืดแขนไว้ในท่าหัวไหล่ทํามุม 90
องศากับลําตัว หมุนแขนออกด้านนอก แขนส่วนล่างอยู่ในท่าหงายและฝ่ามือหนักเข้าหาใบหน้า
ในกรณีที่ทารกมีอัมพาตของแขนส่วนล่างหรือมือต้อง
ดามแขนส่วนนั้นในท่าปกติและให้กำผ้าน่มุ ๆ ไว้
ถ้าเป็นอัมพาตทั้งแขนให้การรักษาเช่น เดียวกัน แต่ควร นวดเบา ๆ
และให้ออกกําลังแขนแต่ไม่ควรทําด้วยความรุนแรง
Fracture clavicle
กระดูกหักในทารก (Fracture)
กระดูกไหปลาร้าหัก
มีอมั พาตเทียม (pseudoparalysis)
ไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหัก (ไม่มีmororeflex)
คลําบรเิวณที่หักได้ยินเสียงกรอบแกรบ (crepitus) และไม่เรียบ
กล้ามเนื้ออก กล้ามเนื้อไหปลาร้าและกล้ามเนื้อกกหู
(sternocleidomastiodmuscle) หดเกร็ง
การหักของกระดูกแขน (humerus) หรือกระดูกขา
ได้ยิน เสียงกระดูกหัก ขณะทําคลอด
บริเวณที่มีกระดูกหัก มีสีผิวผิดปกติ
ข้อสะโพกเคลื่อน (hip dislocation)
หัวกระดูกขาหลุดออกจากเบ้ากระดูกสะโพก
เส้นเอ็น ถูกยืด ออกเป็นผลทําให้ หัวกระดูกต้นขา ถูกดึงรั้งสูงขึ้น
มีอาการบวม เวลาทํา passive exercise
กระดูกเดาะ (greenstick fracture) อาจไม่มีอาการใด ๆ ประมาณ 7 –10
ทารกมีขาบวม ขายาวไม่เท่ากัน มีข้อจํากัดในการเคลื่ออนไหวหรือไม่มีการเคลื่อนไหว
การรักษา
อยู่นิ่ง อย่างน้อย 2 –4 สัปดาห์
กระดูกไหปลาร้าหัก โดยให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไหปลาร้าอยู่นิ่ง
กระดูกต้นแขนเดาะใช้ผ้าตรึงแขนติดลําตัว
การพยาบาล
เน้นจำกัดการเคลื่อนไหว
นางสาวอธิตยา สิงห์ซอม เลขที่ 86 ชั้นปี3