Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน - Coggle Diagram
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน
1.Gestational diabetes mellitus
:star:ความหมาย
ความผิดปกติของความคงทนต่อ
น้ำตาลกลูโคส ตรวจพบครั้งแรก
ระหว่างการตั้งครรภ์
:star: พยาธิสภาพ
ระดับของ Insulin, Glucagon เปลี่ยนแปลง
ทารกมีการเจริญเติบโต และพัฒนาการเกิดความ
ต้องการ Glucose เพิ่มขึ้น
รกสร้าง HPL ยับยั้งการทำหน้าที่ของ insulin ตับอ่อนผลิต
อินซูลินได้ไม่เพยีงพอ
พลังงานไม่เพียงพอเซลล์จึง oxidize ไขมันและโปรตีนเกิด
ภาวะ ketosis
ไม่สามารถเปลี่ยนกลูโคสในเลือดให้เป็นไกลโคเจนเกิดการ
สะสมของน้ำตาลในเลือด
เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดมีมากเกินปกติก็จะถูกไตขับออกมา ในปัสสาวะ จึงเรียกว่า เบาหวานในขณะต้ังครรภ์
:star:ผลกระทบ
ผลของการตั้งครรภ์ต่อ
โรคเบาหวาน
ความต้องการอินซูลินไม่แน่นอน
การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดยาก
Diabetic ketoacidosis
ทารก
Abortion
Malformation
Fetal death
IUGR
ทารกแรกเกิด
RDS
Neonatal
hypoglycemia
Neonatal
hypocalcemia
มารดา
Diabetic retinopathy
Diabetic nephropathy
Infection
PIH
Preterm birth
:star: ชนิด
GDM A-1
fasting plasma glucose < 105 mg/dl
2 hour post prandial glucose < 120 mg/dl
GDM A-2
2-hour post prandial glucose >120 mg/dl
fasting plasma glucose > 105 mg/dl
:star: การวินิจฉัย
ประเมินภาวะเสี่ยง
คลอดผิดปกติ
อายุมากกว่า 35 ปี
Hx.DM
BMI>27 kg/m2
Urine :Trace
ครอบครัว
Glucose challenge test
Glucose 50 g.1 ชม
.
Plasma glucose >140มก./ดล ส่ง
OGTT
140-199mg/dl นัด1 wk. มาตรวจDM
200mg/dl = GDM
Oral Glucose Tolerance Test
:star:การดูแลรักษา
ก่อนตั้งครรภ์
ให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
การเสริมวิตามิน
การประเมินพยาธิสภาพ
การควบคุมระดับกลูโคส
การออกกำลังกาย
ขณะตั้งครรภ์
ควบคุมอาหาร (C:55%, F:25%, P:20%)
งดอาหารน้ำตาล
การใช้ Insulin
ควบคุมน้ำหนัก
ความสะอาดของร่างกาย
การสังเกตเด็กดิ้น
การสังเกตภาวะแทรกซ้อน
หลังตั้งครรภ์
การกำหนดเวลาคลอด
การใช้ Insulin
IV fluid
การคลอดตามข้อบ่งชี้
2.Hyperthyroidism, Thyrotoxicosis
:recycle: สาเหตุ
Graves
Toxic adenoma
Plummer’s disease
:recycle: อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
ใจหวิว ใจสั่น มือสั่น น้ำหนักลด ผมร่วง
ประจำเดือนผิดปกติ
:recycle: การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ตรวจ LAB
เจาะเลือดตรวจ TSH จะต่ำ
T3uptake สูง T4สูง
CBC
:recycle: ผลกระทบ
มารดา
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
:recycle: ภาวะฉุกเฉิน : Thyroid storm
ไข้ 38.5 องศาเซลเซียส หลังจากการคลอด หรือการผ่าตัดคลอด2-3ชั่วโมง
หัวใจเต้นเร็ว ชีพจร 140ครั้ง/นาที
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย
สับสน ชัก จนหมดสติ
:recycle: การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ระยะที่ 1
จัดท่า Fowler’s position
วัดสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ยาระงับปวด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพของทารกในครรภ์
ระยะที่ 2
ประเมินสัญญาณชีพทุก 10 นาที
ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5 นาที
หลังคลอดฉีด Syntocinon
ห้ามใช้ยา methergin
ระยะคลอด
อธิบายเกี่ยวกับโรค
แนะนำการปฏิบัติตัว
รับประทานอาหาร 4000-5000 แคลอรี
การพักผ่อนวันละ 10 ชั่วโมง
รับประทานยา
รักษาความสะอาด
นับการดิ้นของทารก
หลังคลอด
การป้องกันการติดเชื้อ
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ให้พักผ่อน ช่วยเหลือกิจกรรม
ให้ได้รับยาลดการทำงานของต่อมไทรอยด์ เช่น PTU
ให้นมบุตรได้ ยกเว้นมีภาวะผิดปกติของหัวใจและหลอดโลหิต
3.Hypothyroidism
:<3: สาเหตุ
มีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์
จากการรักษาผ่าตัดหรือจากสารรังสีรักษา
จากการขาดไอโอดีน
:<3: การวินิจฉัย
ประวัติ
การรักษามาก่อน
การใชย้าlithium
อาการ
นน.เพิ่ม
ทนเย็นไม่ได้
เบื่ออาหาร
ผมร่วง เล็บเปราะ เสียงแหบ
ผิวแห้งกร้าน
การตรวจ
T ต่ำ DTR ช้า
ระดับ FT4 ต่ำ ระดับ TSH จะสูง
:<3: ผลกระทบ
มารดา
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายในครรภ์
ความดันโลหิตสูง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ตกเลือดหลังคลอด
ทารก
ทารกมีความบกพร่องในการพัฒนาสมอง
Cretinism
:<3: แนวทางการรักษา
Levothyroxine(T4)ขนาด 100-200 ไมโครกรัม/วัน
วันละคร้ัง นาน 3 สัปดาห์ ซึ่งยาไม่ผ่านรก
ปรับขนาดยาตามระดับ TSH , T4
ติดตามการทำงานของต่อมไทรอยด์ทุกไตรมาส