Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์, นางสาวศุภาพิชญ์ อรัญศรี …
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
Hepatitis B
อาการและอาการแสดง
ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้มอุจจาระสีซีด
ปวดข้อ
เบื่ออาหาร คลื่นใส้ อาเจียน
ถ้าอาการรุนแรง มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
มีไข้ อ่อนเพลีย
ผลกระทบ
มารดา
มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดก่อนคลอด
อัตราการผ่าตัดคลอดเพิ่มขึ้น
มีโอกาสเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูงได้
ทารก
ติดเชื้อจากมารดาไปสู่ทารก
คลอดก่อนกำหนด
อาจเพิ่ม อัตราการมีเลือดออกในสมองได้
น้ำเดินก่อนเจ็บครรภ์คลอด
การแท้งและการตายคลอด
การวินิจฉัย
Hepatitis B Antigen
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
ระยะคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัสเลือดลารคัดหลั่ง
ดูแลให้การคลอดดำเนินไปตามปกติ
ดูแลทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก universal precaution
ระยะหลังคลอด
ประเมินภาะหัวนมแตกและส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
คุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัวอย่างเหมาะสม
แนะนำในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเกี่ยวกับน้ำคาวปลาและสิ่งคัดหลั่ง
ตรวจประเมินสุขภาพประจำปีและตรวจเลือดในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
แนะนำการปรับบตัวด้านจิตสังคม การผ่อนคลายความเครียด
ระยะตั้งครรภ์
ซักประวัติครอบครัวเน้นหากลุ่มเสี่ยงของการติดเชื้อ
ส่งตรวจเลือดหา HBsAg
แนะนำในการปฏิบัติตัวกรณีที่มีการติดเชื้อเพื่อป้องกันการการแพร่กระจายและ ความรุนแรงของโรค
การรักษา
ระยะก่อนการคลอด
พิจารณาความจำเป็นในการให้ยาต้านไวรัสจาก HBeAg เป็นหลัก
หลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์ หัตถการเพื่อการช่วยคลอดโดยไม่จำเป็น
ระยะหลังคลอด
รับประทาน Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg. วันละ 1 ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
ดูแลทารกโดยการใช้หลัก universal precaution
Genital herpes simplex infection
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลกั Universal precaution และหลีกเลี่ยงการทาํหัตถการ
ระยะหลังคลอด
และหลีกเลี่ยงการทาํหัตถการ
สามารถให้นมได้ตามปกติล้างมือก่อน และหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
ล้างแผลด้วยน้ำเกลือ .% หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25-1%วันละ - ครั้ง แนะนําเกี่ยวกับการนั่งแช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
หลีกเลีียงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
การรักษา
การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
กรณที่มีHerpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพื่อหลีกเลี่ยง ไม่ให้ทารกได้รับเชื้อจากการสัมผัสสิ่งคดัหลั่งในช่องคลอด
ควรให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ แผลไม่สะอาด
อาการและ อาการแสดง
อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมื่อยตัว
Vesicles ที่ผีวหนังของอวยัวะเพศ
ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลีย
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย สังเกตเห็นตุ่มน้ำใสแตกจะเป็นแผลอักเสบ มีอาการปวดแสบปวด ร้อนมาก ขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็ง ลักษณะตกขาว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ -การเพาะเชื้อ (culture)-เซลล์วทิยา (cytology)
การซักประวัติ ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
Acquired immune defiency syndrome
การติดต่อ
จากมารดาสู่ทารก (vertical transmission) โดยเฉพาะหญิง ตั้งครรภ์ที่ไม่ได้รับการรักษา ทารกในครรภ์จะมีโอกาสติดเชื้อ 15-25%
ทางกระแสเลือด จากการรับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดที่มี เชื้อเอดส์การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงมากที่สุดคือ การร่วมเพศทางทวารหนัก
การพยาบาล
ระยะคลอด
จัดให้ผู้คลอดอยู่ในห้องแยกป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทาํให้ถุงน้ำแตกหรือรั่วทํา คลอดโดยยดึหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
.แนะนําการปฏิบัติติวัเมื่อกลับบ้านเพื่อป้องกนัการแพร่กระจายเชือ
งดให้นมบุตร เพราะทารกอาจติดเชื้อจากแม่ทางนํ้านมได้
จัดให้อยู่ในห้องแยก
ทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันทีและให้ AZT 2 มก./ กก./วัน และติดตามการตดิเชือในทารกหลังคลอด -ƒ เดือน
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
แนะนําวิธิการปฏิบัติตัวัป้องกันการแพร่กระจายเชือ
ตรวจหาระดับCD4 ถ้าต่ำกว่า เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร อาจพิจารณาให้ prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
อาการและ อาการแสดง
กลุ่มที่3 เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ คือ มีไข้สูงฉับพลัน ไข้ ต่ำๆ นานกว่า 2-3 เดือนปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป ท้องเดินเรือรัง น้ำหนักลด อาจตรวจพบเยือหุ้มสมองอักเสบชนิด ไร้เชื้อร่วมด้วย
กลุ่มที่2 เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมือยตามตัว อ่อนเพลีย ผืนตามตวั ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที4ไม่มีอาการทางคลินิก การตรวจ Elisa ให้ผลบวก
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต น้ำหนักลด เป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ELISA, confirmatory test
การซักประวัติ เช่น ร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อ ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน อาการทางคลินิก
Rubella, German measles
อาการและอาการแสดง
ระยะออกผื่น
ผื่นแดงเล็กๆ (erythematous maculopapular)
ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลง มาตามผิวหนังส่วนอื4นหายไปภายใน 3 วัน
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำ
Koplik'sspot จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงา อยู่ที่กระพุ้งแก้ม
ภาวะแทรกซ้อน
Congenital Rubella Syndrome
หูหนวก หัวใจพิการ ต้อกระจก
การวินิจฉัย
ซักประวัติการสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามีผื่นขึ้นหรือไม่
ตรวจน้ำลายและการตรวจเลือดโดยวิธี ELISA
การรักษาพยาบาล
รายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แพทย์อาจ พิจารณาฉีด Immunoglobulin
แนะนําพักผ่อนให้เพียงพอ
3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนําให้ยุติการตั้งครรภ์ “Therapeutic abortion”
แนะนําดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamalตามแพทย์สั่ง
Condyloma accuminata and pregnancy
อาการและอาการแสดง
คล้ายดอกกระหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็น และคัน
ก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด
หูดขึ้นรอบๆ ทวารหนัก และในทวารหนัก
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย สังเกตเห็นรอยโรค ซึ่งเป็นติ่งเนื้อบริเวณ อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก รอบทวารหนัก ปากช่องคลอด ซึ่ง สามารถช่วยประเมนิสภาพได้ค่อนข้างแน่ชัด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยทำ pap smear พบการ เปลี่ยนแปลงที่เซลล์เป็น koilocytosis (halo cell)
การซักประวัติ ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชิ้อ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
การพยาบาล
แนะนําส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
แนะนําการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
ออกกาํลังกายที่พอเหมาะ การลดภาวะเครียด และสังเกตการติดเชื้อซํ้ำ
คลอดทางช่องคลอดได้ ยกเว้นหูดมี ขนาดใหญ่ซึ่งทําให้ขัดขวางช่องทางคลอด
จี้ด้วย trichloroacetic acid จี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
Syphilis
อาการและอาการแสดง
Secondary syphilis: ทั่วตัวผ่ามือผ่าเท้าไข้ปวด ตามข้อข้ออักเสบ ต่อ นํา้เหลืองโต ผมร่วง
Latent syphilis: ไม่แสดงอาการ
Tertiary or late syphilis: ทาํลายอวยัวะภายในเช่น หัวใจ และหลอดเลือดสมอง ตาบอด
Primary syphilis : หลังรับเชื้อ 10-90 วัน แผลริมแข็งมีตุ่มแดง แผลริมแข็งมีตุ่มแดง
การรักษา
การรักษาระยะต้น : ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mU IM ครั้งเดยีว แบ่งฉีดสะโพก ข้างละ . mU :อาจลดอาการปวด โดย ผสม % Lidocaine0.5-1 ml
การรักษาระยะปลาย :ให้ยาBenzathine penicillin G 2.4 mU IM สัปดาห์ ละคร?ัง นาน สัปดาห์ แบ่งฉีดทสี4ะโพก ข้างละ . mU : อาจลดอาการปวดโดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
การวินิจฉัย
ตรวจเลือด : ตรวจ VDRL หรือ RPR, FTA-ABS
ส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
การพยาบาล
ระยะคลอด
หลัก Universal precaution ป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว เจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื้อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก แนะนาํรับประทานยาและกลับมาตามนัดติดตามผลการรักษา ให้คําแนะนําการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะตั้งครรภ์
หากมีการติดเชื้อดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนำมาฝากครรภต์ามนดัและติดตามผลการรักษาเมื่อครบ 6 และ 12 เดือน
ส่งคัดกรอง VDRL ครั:งแรกที่มาฝากครรภ์และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์28-32 สัปดาห์หรือ ห่างกันอย่างน้อย 3 เดือน
แนะนํารักษาความสะอาดและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
อธิบายความสําคัญของการคัดกรอง ความเสี่ยงของโรค ผลต่อทารกในครรภ์
แนะนำพาสามีมาตรวจคดักรอง
ดูแลด้านจิตใจ
Zika fever
การตรวจวินิจฉัย
ดื่มน้ำในปริมาณ 2,000-3,000 ลิตร ต่อวัน
การให้ยาพาราเซตามอลเพื่อบรรเทา อาการปวด ลดไข้
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ห้ามรับประทานยาแอสไพรินหรือ ยากลุ่มลดการอักเสบ (NSAIDs)
ยังไม่ยารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง
การตรวจวินิจฉัย
การวัดรอบศีรษะในทารกแรกเกิด2ครั้ง ครั้งแรกเมื่อแรกเกิด และครั้งที่2 เมือ อายุ 24ชั่วโมง
ติดตามอัลตร้าซาวการเจริญเติบโต ของทารกทุก 4สัปดาห์
ทดสอบทางห้องปฏิบัติกิาร ตรวจหาแอนติบอดี้lgM และ IgG ต่อไวรัสซิกาตรวจดีเอ็อเอสามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง RT-PCR ภายใ 1-3 วันเมือเริ่มแสดงอาการ
การซักประวัติ อาการ การเดินทาง ลักษณะที่อยู่อาศัย
ใช้สิงส่งตรวจ เช่น น้ำคร่ำ เลือดจากสะดือหรือรก
นางสาวศุภาพิชญ์ อรัญศรี รหัสนักศึกษา 602701098 เลขที่ 97