Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6.2 อาหารที่เหมาะสมสำหรับบุคคลและวัยต่าง ๆ - Coggle Diagram
บทที่ 6.2 อาหารที่เหมาะสมสำหรับบุคคลและวัยต่าง ๆ
ผู้ใช้แรงงาน
สาเหตุของปัญหาสุขภาพที่กวนใจวัยทำงาน
อายุมากขึ้น
ความอ้วน
ความเครียดจากการทำงาน
ขาดการออกกำลัง
การสูบบุหรี่
ดื่มเครื่องดื่มชา
การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
การรับประทานที่มีรสเค็มจัด
การรับประทานอาหารจำพวกแป้ง
การขาดสารอาหารจำพวกวิตามิน
การดูแลสุขภาพร่างกายของวัยทำงาน
6.รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
7.รับประทานข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับแป้งเป็นบางมื้อ
5.ดื่มน้ำสะอาดวันละ 6-8 แก้ว
8.จำกัดปริมาณน้ำตาล
4.หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
9.หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสจัดและเค็มจัด
3.หมั่นการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
10.ควรรับประทานเนื้อสัตว์พอประมาณ
2.ตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
11.หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและโคเลสเตอรอลสูง
1.การควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ของดัชนีวลกาย
12.รับประทานผัก ผลไม้เป็นประจำ
สารอาหาร
โปรตีน เนื้อสัตว์ต่าง ๆ ไข่ ถั่วชนิดต่าง ๆ นม และผลิตภัณฑ์จากนม
วิตามินเอ ตับ น้ำมันตับปลา ไข่แดง ผักที่มีใบเหลือง สีแดง และสีเขียว
วิตามิน บี 1 ข้าวซ้อมมือ เนื้อหมู ตับ ถั่ว ไข่ มันเทศ
วิตามินบี 6 นม ไข่ ถั่ว ปลา ตับ ข้าวซ้อมมือ จมูกข้าวสาลี
วิตามินบี 12 ยีสต์ ตับ ไข่ เนื้อปลา หอยนางรม เครื่องในสัตว์
วิตามินซี ผักใบเขียว มันฝรั่ง พริกหวาน มะเขือเทศ ผลไม้รสเปรี้ยว
เหล็ก ตับ เนื้อสัตว์ ไข่แดง หอยนางรม
แคลฌวียม ปลาเล็กปลาน้อย นม ผักใบเขียว
ผู้สูงอายุ
ปัญหาการกินอาหารของผู้สูงอายุ
นิสัยการกินไม่ถูกต้อง
ความกังวลในจิตใจ
การรับกลิ่นอาหารอันชวนรับประทานลดลง
ความกังวลในด้านเศรษฐกิจของตนเองและครอบครัว
การรับรสชาติอาหารจะลดลง
อุปสรรคทางกาย
ปัญหาเรื่องเงือกและฟัน
การจัดอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
อาหารหมู่ที่ 1 เนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วเมล็ดแห้งต่าง ๆ
เนื้อสัตว์ ง่ายต่อการเคี้ยว เช่น ปลา
ไข่ ถ้าไม่มีปัญหาโรคไขมันในเลือดสูง ควรกิน 3-4 ฟองต่อ week แต่ถ้ามี กินเฉพาะไข่ขาว
นม ดื่มวันละ 1 แก้ว
ถั่วเมล็ดแห้ง ใช้แทนสัตว์ เป็นอาหารที่มีสูงและราคาถูก
อาหารหมู่ที่ 3 ผักต่าง ๆ ต้มหรือนึ่งจนนิ่ม ไม่ควรบริโภคผักดิบ เพราะย่อยยาก
อาหารหมู่ 4 ผลไม้ต่าง ๆ ควรกินทุกวัน ผลไม้เนื้อนุ่มเคี้ยวง่าย ผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานไม่ควรกินผลไม้มีรสหวานจัดมากนัก
อาหารหมู่ที่ 5 ไขมันจากสัตว์และพืช ไม่ควรกินมาก
วัยรุ่น
พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยรุ่น
1.บริโภคตามกระแสนิยม
2.งดอาหารบางมื้อ
ความสำคัญของอาหารในเด็กวัยรุ่น
1.กินอาหารให้ครบทั้งหมด 5 หมู่
2.กินอาหารให้ครบ 3 มื้อ
3.เด็กวัยรุ่นต้องการควบคุมน้ำหนัก
วัยรุ่นต้องการวันละ 2300 กิโลแคล
ผลไม้ 5 ส่วน
เนื้อสัตว์ 11 ช้อนกินข้าว
ผัก 6 ทัพพี
นม 1 แก้ว
ข้าว-แป้ง 11 ทัพพี
นักกีฬา
อาหารสำหรับนักกีฬาและผู้ออกกำลังกาาย
โปรตีนเพิ่มขึ้นประมาณ 1-1.5 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน ได้แก่ เนื้อสัตว์ ไข่ขาว ถั่ว นม
สารอาหารไขมัน ร้อยละ 25-30 ของพลังงานทีไ่ด้จากอาหารทั้งหมด
วิตามันและเกลือแร่ ได้แก่ อาหารจำพวกผัก ผลไม้ชนิดต่าง ๆ
เหล็ก การขาดเหล็กมักพบในกีฬาหญิงที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก เพราะต้องสูญเสียเหล้กไปทางการมีประจำเดือนร่วมกับการกินธาตุเหล็กน้อยเพื่อควบคุมน้ำหนัก
แคลเซียม ดื่มนมพร่องมันเนย วันละ 2 แก้ว
วัยผู้ใหญ่
โภชนบัติญัติ 9 ประการ
5.ดื่มให้เหมาะสมตามวัย
6.กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร
4.กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ ถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ
7.หลักเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด
3.กินพืชผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจำ
8.กินอาหารที่สะอาดจากการปนเปื้อน
2.กินข้าวเป็นอาหารหลักสลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ
9.งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
1.กินอาหารครบ 5 หมู่แต่ละหมู่ให้หลากหลายและหมั่นดูแลน้ำหนักตัว