Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.2 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดในระยะตั้งครรภ์, :red…
บทที่ 4.2
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดในระยะตั้งครรภ์
การแท้ง (Abortion)
Type of abortion
การแท้งค้าง (missed abortion)
การแท้งครบ (complete abortion)
การแท้งไม่ครบ (incomplete abortion)
การแท้งที่หลกีเลยี่งไม่ได้ (inevitable abortion)
การแท้งคุกคาม (threatened abortion)
:check: การมีเลือดออกจากมดลูก โดยที่ปากมดลูกยัง
ปิด
ในช่วงอายุครรภ์ก่อน 20 สัปดาห์ ทารกยังมีชีวิตอยู่
:check: การมีเลือดออกจากมดลูกและมีการ
เปิด
ขยายของปากมดลูก โดยที่ยังไม่มีเนื้อรก หรือ ชิ้นส่วนของทารกในครรภ์ออกมา ในช่วงอายุครรภ์ก่อน 20 สัปดาห์
:check: การที่ทารกในครรภ์ หรือเนื้อรกบางส่วนแท้งออกมาจากมดลูกในช่วงอายุครรภ์ก่อน 20 สัปดาห์ ปากมดลูกมกัจะ
เปิด
อยู่
:check: การที่ทารกในครรภ์ และเนื้อรกทั้งหมด แท้งออกมาจากมดลูกในช่วงอายุครรภ์ก่อน 20 สัปดาห์ ปากมดลูกจะ
ปิด
:check: การที่ทารกในครรภ์เสียชีวิตเป็นเวลาหลายวัน และปากมดลูกยัง
ปิด
อยู่
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจพิเศษ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ LMP
:pen: ประวัติการมีเลือดออกทางช่องคลอด ปวดหน่วงหรือปวดบีบที่ท้องน้อย การมีชิ้นส่วนของทารกหรือรกหลดออกทางช่องคลอด
:pen: พบเลือด/ชิ้นส่วนทารก/รกทางช่องคลอด มดลูกโตไม่สัมพันธ์กับ LMP, V/S เปลี่ยนแปลงหากเสียเลือดมากหรือมีไข้จากติดเชื้อ
:pen: beta-hCG
:pen: U/S ดูถุงการตั้งครรภ์เพื่อวินิจฉัยชนิดแท้ง และแยกภาวะตั้งครรภ์ไข่ปลาอุกกับตั้งครรภ์นอกมดลูก
แนวทางการรักษา Abortion ไตรมาสแรก
การพยาบาล
แท้งคุกคาม
งด PV / PR
ประเมิน UC , ปริมาณเลือด, V/S ถ้าผิดปกติรายงานแพทย์
bed rest
แท้งทหี่ลกีเลยี่งไม่ได้ แท้งไม่ครบ แท้งครบ และแท้งค้าง
ให้เตรียมร่างกายและจิตใจให้พร้อมในการรักษา
ด้านจิตใจ
กรณีสตรีที่มีปัญหาซับซ้อนหรือมีปัญหาสุขภาพจิต ควรส่งต่อให้รับการปรึกษา (counselling) จากผู้เชี่ยวชาญ
แนวทางการรักษา Abortion ไตรมาสสอง
การแท้งในไตรมาสนี้ อาจจะทำให้เกิดการเสียเลือดอย่างมากได้
วิธีการทำให้เกิดการแท้งอาจทา ได้โดย
:star: การฉีด hyperosmotic solution เช่น 20% saline เข้าไปในถุงน้ำคร่ำ
:star: วิธีที่ปลอดภัยและนิยมใช้ คือ การให้ยา misoprostol
:star: การให้ oxytocin ทางหลอดเลือดดา
แท้งค้าง หรือ แท้งไม่ครบ
การแท้งครบ
การแท้งคุกคาม
คือ การนอนพักและอาจให้ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนร่วม
U/S confirm อาจให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูก/วิตามิน
สามารถรักษาได้ 2 แบบ
1.Surgical management
การตัดมดลูก (hysterectomy)
Hysterotomy
การขยายปากมดลูก กรณีที่ปากมดลูกปิดอยู่ ตามด้วยการขูดมดลูก (sharp curettage) หรือ การดูด (vacuum aspiration) หรือ การใช้เครื่องดูดทารกในครรภ์ออก (Evacuation)
2.Non-surgical management
การเฝ้าสังเกต (EXPECTANT)
พบว่าการเฝ้าสังเกตอาการเพียงอย่างเดียว จะมีการแท้งเกิดขึ้นเองอย่างสมบรูณ์ถึง 85% ใน 1 เดือน และถ้าเป็นการแท้งแบบการแท้งไม่ครบ จะมีการแท้งออกมาจนครบในเวลา 3 วันถึง 79% แต่ข้อเสียของวิธีนี้ คือ ผู้ป่วยมักจะกังวล และเกิดเลือดออกมากจนต้องมาขูดมดลูกฉุกเฉินได้บ่อย
การใช้ยา
นิยมใช้ prostaglandins E1 หรือ misoprostol ราคาถูก หาง่าย เก็บรักษาง่าย
:fountain_pen: ถ้ายังไม่มีการแท้งออกมาเลย ขนาดที่ส่วนใหญ่แนะนำคือ 800 µg เหน็บช่องคลอด ให้ทุก 24 ชม. ติดต่อกัน 3 วันหากยังไม่มีการแท้ง แนะนำให้ขูดมดลูกเลย
:fountain_pen: ส่วนถ้าเป็นการแท้งไม่ครบมักนิยมให้ขนาด 400 µg เหน็บช่องคลอดเช่นกัน
:fountain_pen:การบริหารยา กิน/อมใต้ลิ้น/เหน็บทางช่องคลอด (นิยมมากสุด)
การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก (Molar pregnancy)
อาการและอาการแสดง
การวินิจฉัย
แนวทางการรักษา
การักษา
บทบาทการพยาบาล
2.เตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจในการเข้ารับการขูดมดลูกด้วยสูญญากาศ (ให้ข้อมูลการปฏิบัติตัวก่อน-ขณะ-หลังทำ NPO 6 ชม. ถ่ายปัสสาวะและทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก)
4.ดูแลให้สารน้ำ เลือด และยาตามแผนการรักษา
1.อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจพยาธิสภาพ ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น แผนการรักษาการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม
3.เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และยาให้พร้อม
วัด V/S เพื่อเฝ้าระวังภาวะตกเลือด
6.เก็บเนื้อเยื่อที่ได้รับจากการขูดมดลูกส่งตรวจและติดตามผล
7.เน้นย้ำให้เห็นความจำเป็นในการมารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
8.อธิบายความสำคัญของการคุมกำเนิด วิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสม
ตรวจอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก/ใน และ x-ray ปอด
คุมกำเนิดอย่างเคร่งครัดด้วยยาเม็ดคุมกำเนิด อย่างน้อย 1 ปี
ติดตาม hCG ระวัง chroriocacinoma
ทุก 1-2 wks จนกระทั่งให้ผลลบ จากนั้นตรวจทุกเดือนเป็นเวลา 6 เดือน และทุก 2 เดือน จนครบ 6 เดือน หรือ 1 ปี
ค่าอยุ่ในเกณฑ์ปกติ อาจงดตรวจเมื่อครบ 1 ปี
ยาเคมีบำบัดในรายที่เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเนื้อรก
สิ้นสุดการตั้งครรภ์ ด้วย suction curettage ร่วมกับให้ oxtocin ป้องกัน PPH หรือ Hysterectomy ในรายที่มีบุตรเพียงพอแล้ว
:<3:
ภายหลังการวินิจฉัยที่ชัดเจน จะต้องสิ้นสุดการตั้งครรภ์ทุกราย และนัดติดตาม hCG เป็นระยะๆ เพื่อเฝ้าระวังการเกิดมะเร็งเนื้อรก
:<3:
ซักประวัติ
ประจำเดือดขาด BI/Vg ร่วมกับมีถุงน้ำใสๆ เหมื่อไข่ปลา
ตรวจร่างกาย
ตรวจครรภ์ ขนาดมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์ คลำไม่พบส่วนของทารก ฟัง FHS ไม่ได้
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
hCG จะสูงมากกว่าปกติ เมื่ออายุครรภ์ > 14 wsk (ไตรมาสที่ 1 ปกติ 50,000-100,000 mlU/ml)
ตรวจพิเศษ
U/S จะพบถุงน้ำ ลักษณะ snow storm :star:
:warning: size > date อย่างน้อย 4 wks
:warning: No FHS / คลำไม่พบส่วนของทารก
:warning: GA 16-18 wks
มีอาการของ Preeclampsia
:warning: เลือดสีคล้ำ+ถุงน้ำใสๆออกทางช่องคลอด ปกติจะแท้งเอง
hCG สูง
Hyperthyroidism
N/V รุนแรง
U/S พบ snow storm
ขาดประจำเดือน
อาจพบถุงน้ำรังไข่ (theca lutein ovarian cyst)
โรคของเนื้อรก (gestational trophoblastic disease) เกิดจากความแปรปรวนทางพันธุกรรมในเนื้อรก ทำให้เนื้อรก (chrorionic villi) เสื่อมสภาพกลายเป็นถุงน้ำใส่ๆ จำนวนมาก ขนาดแตกต่างกัน เกาะกันเป็นพวงองุ่น และมีการสร้าง hCG เพิ่มขึ้น
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (Ectopic pregnancy)
บริเวณที่ตัวอ่อนฝังตัวมากที่สุด คือ ส่วน ampulla ของท่อนำไข่
การประเมินและวินิจฉัย
การพยาบาล
:pencil2: สังเกตภาวะช็อคจากการเสียเลือด
:pencil2: เจาะเลือดดูภาวะซีด ให ้IV fluid หรือเลือดตามแผนการรักษา
:pencil2: ประคับประคองด้านจิตใจ
:pencil2: ถ้าช็อค ให้นอนราบ ห่มผ้าให้อบอุ่น ให้IV fluid เร็วขึ้น ใหอ้อกซิเจน รายงานแพทย์ทนัที
:pencil2: อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสรีรภาพและแผนการรักษา
:pencil2: ในรายที่ให้ยา Methotrexate อธิบายผลข้างเคียงของยาที่อาจเกิดขึ้นและให้สังเกตอาการผิดปกติที่ต้องแจ้งแพทย์ ถ้าต้องการตั้งครรภ์ ควรชะลอการตั้งครรภ์อย่างน้อย 3 เดือน เพื่อรอให้ยาถูกขับออกจากร่างกายจนหมด
การตรวจพิเศษ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
อาการปวดท้องน้อยเฉียบพลัน ลักษณะเลือดออกทางช่องคลอด (มักเป็นสีคล้ำ/สีน้ำตาลเก่า) ขาดประจำเดือน (มักขาดมา 1-2 เดือน) ปวดร้าวที่หัวไหล่ วิงเวียนศีรษะ มีอาการของการตั้งครรภ์
กดเจ็บบริเวณท้องน้อย เจ็บเมื้อโยกปากมดลูก
beta-hCG
U/S ไม่พบถุงการตั้งครรภ์ในมดลูก แต่พบอยู่นอกมดลูกตามบริเวณที่มีการฝังตัวของตัวอ่อน เช่น ท่อนาไข่
แนวทางการรักษา ectopic pregnancy
หลักการ
: วินิจฉัยให้ได้อย่างรวดเร็วและทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง เพื่อป้องกันการแตกของท่อนำไข่ โดย
:check: การเฝ้าสังเกตอาการ ในรายที่ไม่มีอาการเพื่อประเมินอาการ
:check: อาจรักษาโดยยา Methotrexate กรณีที่ถุงตั้งครรภ์ยังไม่แตก และมีขนาด เล็กกว่า 3.5 ซม. ใชไ้ดผ้ลดี
:check: ผ่าตัดแบบ salpingectomy เป็นการตัดท่อนำไข่ข้างที่เป็นออก มักทำในกรณีถุงตั้งครรภ์ใหญ่มากกว่า 5 ซม.
:check: ผ่าตัดแบบ linear salpingostomyโดยกรีดท่อนำไข่ 1 ซม.
ภาวะตกเลือดในระยะหลังของการตั้งครรภ์
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta Previa)
แบ่งเป็น 4 ชนิด
การประเมินและวินิจฉัย
:warning: เลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่เจ็บ (painless bleeding)
แนวทางการรักษา
ถ้าเลือดออกลดลง ไม่เจ็บครรภ์ ทารกมีชีวิตอยู่ ประคับประคองให้ GA ครบกำหนด
บางรายถ้ามีอาการเจ็บครรภ์ร่วมด้วย อาจได้รับยายับยั้งการคลอดเพื่อยืดอายุครรภ์
ถ้าเลือดออกมากหรือออกนานหรือเจ็บครรภ์หรือทารกตายในครรภ์ หรือครบกำหนด ให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยการคลอด
Admit สังเกตอาการตกเลือด และดูแลอย่างใกล้ชิดในห้องคลอด
ห้าม PV/ PR/ สวนอุจจาระ
NPO ให้ IV สังเกตเลือดที่ออก
ตรวจ Hct และจองเลือดให้พร้อมใช้
C/S กรณี Total placenta previa หรือ เลือดออกมาก fetal distress
หลังคลอด ให้ย้ากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ป้องกัน PPH
หน้าท้องนุ่มไม่แข็งตึง
อาการซีดจะสัมพันธ์กับปริมาณเลือดที่ออก
U/S พบรกเกาะต่ำ
Marginal placenta previa
ขอบรกเกาะที่ขอบ internal os พอดี
Low –lying placenta
รกที่ฝังตัวบริเวณ lower uterine segment ซึ่งขอบ รกยังไม่ถึง internal os ของปากมดลูกแต่อยู่ใกล้ชิดมาก
Total placenta previa
รกคลุมปิด internal os ทั้งหมด
Partial placenta previa
ขอบรกคลุมปิด internal os เพียงบางส่วน
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
Concealed หรือ internal hemorrhage
คือ รกลอกตัวแล้วเลือดคั่งอยู่หลังรกไม่ ออกมาทางช่องคลอดให้เห็นชัดเจน พบได้น้อยกว่า
Mixed หรือ combined hemorrhage
ชนิดนี้พบได้มากที่สุด
Revealed หรือ external hemorrhage
คือ รกลอกตัวแล้วเลือดไหลออกมาทางปากมดลูกและช่องคลอด พบได้บ่อยกว่า
การประเมินและวินิจฉัย
แนวทางการรักษา
:pencil2: แก้ไขภาวะซีด ภาวะ hypovolemia ภาวะขาดออกซิเจน และความ ไม่สมดุลย์ของอีเลคโตรไลท์
:pencil2: การผ่าตัดคลอดทางหน้าทอ้ง ควรท าเฉพาะในรายที่มีข้อบ่งชี้ เช่น fetal distress หรือความรุนแรงของโรคเพิ่มขึ้น แต่ปัจจุบันมีหลาย รายงานแนะน าให้ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องทันทีทุกรายที่พบว่า ทารกยงัมีชีวิต (Cunningham et al., 2010)
:pencil2: ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยเร็วและอย่างปลอดภัยเจาะถุง น้ำคร่ำเมื่อไม่มีข้อห้าม :star:
ไม่จำเป็นต้องให้ oxytocin
มดลูกหดรัดตัวมากหรือแข็งเกร็ง
คลำส่วนของทารกไม่ชัดเจน
รายที่เป็นมากจะพบเลือดออกทางช่องคลอด มักปวดท้องร่วมด้วย (painful bleeding)
fetal distress
อาการซีดไม่สมัพันธ์กับปริมาณเลือดที่ออก
หลังคลอดตรวจรก พบ Retroplacentalblood clot
รายที่เป็นนอ้ยอาการแสดงอาจไม่แน่นอน
U/S พบ retroplacentalblood clot ในรายที่มีเลือดคั่งหลังรก
:red_flag:
วิธีที่นิยมในไทยถ้าปากมดลูกปิด คือ การทำ dilatation & curettage