Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงในระยะตั้งครรภ์ปกติ - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงในระยะตั้งครรภ์ปกติ
พัฒนาการของตัวอ่อน (Embryonic development )
Embryonic stage
ระยะสร้างอวัยวะต่างๆ
( Organenesis)
Ectodern layer
Skin
Hair
Nails
Nervous system
Mesoderm layer
circulatony system
Sketetal system
Muscular system
Lungs (epithelial layers)
Endoderm layer
Pancreas
Lungs
Liver
Digestive system
ระบบแรกที่ทำหน้าที่ คือ Cardiovascular system พบการเต้นของหัวใจในสัปดาห์ที่ 7
สัปดาห์ที่ 2-8
เกิดเยื่อหุ้มตัวอ่อน
เกิดรก
Fetal stage
เริ่ม week 9
week 24
ระบบหัวใจเคลื่นไหว
ผลิตสาร Surfactant
week 16
ฟังเสียงหัวใจมีการดิ้น
ดูดกลืนได้
week 26
ทารกเคลื่อนไหว
เตะโต้แรงสั่น
จดจำเสียงพ่อแม่
week 14
เห็นเพศชัดเจน
มีขนอ่อน ผิวหนังบาง
มองเห็นเส้นเลือด
week 30
ปิด เปิดเปลือกตา
ปอดทำงาน
week 12 :
เห็นนิ้วมือนิ้วเท้า
แยกเพศได้
week 38
อวันวะเกือบสมบูรณ์ ยกเว้นปอด
ตอบสนองต่อเสียง
เล็บงอกถึงปลายนิ้ว
เปิดปิดเปลือกตา กระพริบตาได้
รูม่านตาขยายและหรี่ได้
Pre-Embryonic stage
ปฏิสนธิเกิดเป็นเซลล์ใหม่หนึ่งเซลล์ เรียกว่า ไซโกต
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของหญิงตั้งครรภ์
Reproductive Adaptations
cervix
มูกมากขึ้น
นุ่นและคล้ำขึ้น
Uterus
ช่วงแรงผนังมดลูกจะหนา แต่จะบางลงเมื่อใกล้คลอด
รูปร่างจากชมพู่หรือลูกแพร์ กลายเป็นรูปไข่
Vagina
เยื่อบุเปลี่ยนสีจากชมพูเป็นม่วง
ผนังช่องคลอดหนา อ่อนนุ่ม ยืดขยายมากขึ้น
สารคัดหลั่งมีฤทธิ์เป็นกรดเพิ่มขึ้น
Breasts
ขยายใหญ่ขึ้น
คัดตึงเต้านม
หัวนมมีขนาดใหญ่และคล้ำขึ้น
อวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
ผิวหนังและกล้ามเนือฝีเย็บขยายใหญ่ขึ้น
ovaries and fallopian tubes
ไม่มีการตกไข่
ไม่มีประจำเดือน
ท่อนำไข่ขยายใหญ่และยาวขึ้น
Cardiovascular Adaptations
ตำแหน่งหัวใจถูกยกขึ้นและเอียงไปทางซ้าย
เลือดแข็งตัวเพิ่มขึ้น
Fibrinogen เพิ่มขึ้น
WBC เพิ่มเล็กน้อย
Respiratory Adaptations
ทรวงอกขยายออกด้านข้างมากขึ้น
หายใจเร็วและแรงขึ้น
Endocrine Adaptations
Parathyroid gland
สร้างพาราไทรอยด์ H.เพื่อนำแคลเซียมใช้ในการเจริญเติบโตของทารก
Adrenal gland
Corticosteroid เพิ่มขึ้น เพื่อให้ทารกได้น้ำตาลกลูโคส
Thyroid gland
T4 เพิ่มขึ้น
Pancreas
สร้างอินซูลิน
Pituitary gland
FSH เพิ่มLH ลด
HLP เพิ่มขึ้น
Prolactin เพิ่มขึ้นเพื่อสร้างน้ำนม
Placenta
Progesterone ต่อมน้ำนมโตมากขึ้น
สร้าง Estrogen ช่วยการเจริญของมดลูฏ เพิ่มขนาดเต้านม
HCG ถูกขับทางปัสสาวะ
Metabolism Adaptation
ต้องการโปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัสมากขึ้น
ต้องการธาตุเหล็กเพิ่ม 800 มก.
การเมตาบอลิซึมมากขึ้น
Renal system Adaptation
Renal pelvis and Ureter ยาวและกว้างออก ขวาขยายออกซ้าย ท่อไตถูฏกดและบีบตัวน้อยลง
renal ขยายใหญ่ การกรองผ่านกลูเมอโรลัสเพิ่มมากขึ้น แต่การดูดกลับลดลง อาจมีโซเดียมคลั่ง
Gastrointertinal systems Adaptation
คลื่นไส้ อาเจียนจาก HCG
การเคลื่อนของลำไส้ลดลง
เหงือกบวม แดง อาจมีเลือดออกได้ง่่าย
มดลูกโต
Musculoskeletal system adaptation
มีการดึงกล้ามเนื้อทำให้คองุ้ม
ชา ตะคริวขา
ท่าเดินเตาะแตะคล้ายเป็ด
ใบหน้าคล้ำ
ผิวคล้ำบริเวณหน้าท้องต่ำกว่าสะดือ
เกิดรอยแตก
การประเมินภาวะสุขภาพในระยะตั้งครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
HIV
OF,DCIP
CBC , VDRL
กลุ่มเลือด
HBsAg
UA
การตรวจร่างกาย
การตรวจเต้านมและหัวนม
ดูขนาด รูปร่าง รอยแตกที่หัวนม
การคัดตึง ก้อนที่เต้านม
ดู BMI
การตรวจแต่ละระบบ
การตรวจร่างกายทั่วไป
การซักประวัติ
ประวัติครอบครัว
โรคทางพันธุกรรม
ประวัติการตั้งครรภ์แฝด
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
วันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย
ประวัติส่วนตัว
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดปกติ ระบบ GPPAL
G จำนวนครั้งการตั้งครรภ์
P จำนวนครั้งการคลอด
P จำนวนครั้งคลอดก่อนกำหนด
A จำนวนการแท้ง
L จำนวนบุตรที่มีชีวิตอยู่
ประวัติการคุมกำเนิด
ประวัติการดิ้นของทารกในครรภ์
ครรภ์แรก ช่วง 18-20 สัปดาห์
ครรภ์หลัง ช่วง 16-18 สัปดาห์
ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์
เลือดออกทางช่องคลอด
บวมในระยะหลังของการตั้งครรภ์
เส้นเลือดขอด
การตรวจครรภ์
จำนวนทารกในครรภ์
การคงชีวิตอยู่ของทารกในครรภ์
การคาดคะเนอายุครรภ์
แนวท่าและส่วนนำของทารก
Lie
longitudinal แนวยาว
cephalic presentation (ก้อน กลม แข็ง )
Brow
Bregma
Face
Vertex
Breech presentation
complete breech
Incomplete Breech
Frank Breech
Footling Breech
transverse lie แนวขวาง
Shoulder presentation
Position
ปัญหาสุขภาพของมารดาในระยะตั้งครรภ์ปกติ
ใจสั่น เป็นลม
เปลี่ยนอิริยาบทช้าๆ
ตรวจความเข้มข้นของเลือด
เส้นเลือดขอด
ไม่เดิน ยืนนานเกินไป
นอนตะแคงซ้าย ยกเท้าสูง
พันขาด้วยผ่้ายืด
ริดสีดวงทวาร
ทานอาหารที่มีกากใย
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว
หายใจตื้นและลำบาก
นอนท่าศีรษะสูง
ปรึกษาแพทย์
ท้องผูก
ดื่มน้ำ 8-10 แก้ว
ทานอาหารที่มีกากใย
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ตะคริว
ดื่มนมมากขึ้น
หลีกเลี่ยงการใช้กำลังขา
นวดขา ดัดปลายขาให้งอขึ้น
ร้อนในอก
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด
ปวดหลัง ปวดถ่วง ปวดบริเวณข้อต่างๆ
หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
บริหารโดยทำท่า Pelvic tilting
ใส่รองเท้าส้นเตี้ย
เหงือกอับเสบ
ใช้แปรงอ่อนนุ่ม
เพิ่มโปรตีน ผัก ผลไม้
ปัสสาวะบ่อย
หลีกเลี่ยงเคลื่องดื่มที่ขับปัสสาวะ
อย่ากลั้นปัสสาวะ
ดื่มน้ำมากในกลางวันและลดปริมาณในกลางคืน
มีนำ้ลายมาก
ลดอาหารประเภทแป้ง
อมลูกอมที่มีรสเปรี้ยว
อาการคัน
ดูแลความสะอาดผิวหนัง
ทาครีมหรือน้ำมันบำรุงผิว
หลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีกรดด่างสูง และแอลกอฮอล์
คลื่นไส้ อาเจียน
รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
ทานของอุ่นๆ เลี่ยงของมัน เหม็น