Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Personality disorder บุคลิกภาพแปรปรวน, นายสิทธิชัย นาวิก รหัสนักศึกษา…
Personality disorder
บุคลิกภาพแปรปรวน
ประเภทของบุคลิกภาพ
DSM-V
Othe
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทชนิดไม่เข้าพวก (personality disorder NOS (Not Otherwise Specified))
เป็นบุคคลที่มีหลายอย่างรวมกัน ไม่สามารถจัดเข้าพวกใดได้ หรือมีไม่ครบตามเกณฑ์วินิจฉัย
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทดื้อเงียบ (Passive-aggressive personality disorder)
เป็นบุคคลที่ต่อต้านทางอ้อม ดื้อเงียบ ผัดวันประกันพรุ่งทำงานไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ ไม่ชอบทำตามคำสั่ง แต่ไม่ค่อยกล้าแสดงความก้าวร้าว หรือไม่เห็นด้วยบางรายจะบ่นมากเรื่อง
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทซึมเศร้า (Depressive personality disorder)
เป็นบุคคลที่จะมองโลกและตัวอย่างในแง่ร้าย ไม่ค่อยมีความสุข ดูอมทุกข์ตลอดเวลาหมดอาลัยกับชีวิต มักจะเป็นคนเงียบ ๆ เก็บตัว ยอมตาม และหมกมุ่น ครุ่นคิด
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทชอบความรุนแรง (Sadistic personality disorder)
เป็นบุคคลที่ใจร้าย ทารุณโหดเหี้ยม มักก่อคดีบ่อยครั้ง พบว่ามักถูกทำร้ายในวัยเด็กมาก่อน
บุคลิกภาพแปรปรวนประเภทชอบทำร้ายตัวเอง (Self-defeating personality disorder)
เป็นบุคคลที่มักนำพาตัวเองสู่ความตกต่ำ ทำอะไรแล้วล้มเหลวบ่อยครั้ง และไม่ต้องการความช่วยเหลือจากใคร
การดำเนินโรค
(Disease progress)
บุคลิกภาพแปรปรวนมักจะเริ่มแสดงอาการผิดปกติตั้งแต่ในช่วงระยะวัยรุ่นหรือในช่วงผู้ใหญ่ตอนต้น และจะมีอาการอยู่เป็นระยะเวลานาน
บุคลิกภาพแปรปรวนแบบ antisocial และ borderline อาการรุนแรงน้อยลงเมื่ออายุมากขึ้น แต่บุคลิกภาพแปรปรวนแบบ obsessive และ schizotypal อาการจะรุ่นแรงมากขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น
กระบวนการพยาบาล
ผู้ที่มีความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ
การประเมินภาวะสุขภาพ
(Assessment)
แบบแผนการรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ (Health perception-health management pattern)
แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร (Nutritional-metabolic pattern)
แบบแผนการขับถ่าย (Elimination pattern) พิจารณาเป็นรายๆไป
แบบแผนการทำกิจกรรมและการออกกำลังกาย (Activity-exercise pattern)
แบบแผนการพักผ่อนและการนอนหลับ (Sleep-rest pattern)
แบบแผนการรู้คิด การรับรู้ และการสื่อสาร (Cognitive-perceptual-communication pattern)
แบบแผนการรับรู้ตนเองอัตมโนทัศน์ และสภาพอารมณ์ (Self perception – self-concept–emotional status pattern)
แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ (Role-relationship pattern)
แบบแผนเพศและการเจริญพันธ์ (Sexuality-reproductive pattern)
แบบแผนความเครียด ความทนต่อความเครียด และการจัดการกับความเครียด (Copingstress-tolerance pattern)
แบบแผนคุณค่า ความเชื่อ และสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (Value-belief-spiritual pattern)
การวินิจฉัยบุคลิกภาพแปรปรวน
(Personality disorder diagnosis
A. บุคคลที่มีลักษณะการดำเนินชีวิตแตกต่างไปจากบุคคลอื่นที่อยู่ร่วมวัฒนธรรมเดียวกับตน โดยมีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อย 2 อย่าง
มีการรับรู้เกี่ยวกับตนเอง หรือต่อผู้อื่น หรือต่อเหตุการณ์ที่คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงที่ผู้อื่นรับรู้
มีอารมณ์ตอบสนองที่ไม่มั่นคง อาจมากหรือน้อยเกินไป ไม่เหมาะสม
มีปัญหาด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น
มีพฤติกรรมที่หุนหันพลันแล่น
B. ลักษณะดังกล่าวค่อนข้างเป็นอยู่ตลอด และไม่ยืนหยุ่นตามสถานการณ์
C. เกิดปัญหาอย่างมากในด้านอาชีพ การทำงาน หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสังคมที่สำคัญอย่างอื่น
D. ลักษณะจะคงที่และเป็นระยะเวลายาวนาน อาการเริ่มเป็นมาตั้งแต่วัยรุ่น หรือวัยหนุ่มสาว
E. อาการดังกล่าวไม่ใช่อาการของโรคทางจิตเวช หรือไม่ได้เกิดจากภายหลังบุคคลเป็นโรคทางจิตเวช
F. อาการดังกล่าวไม่ได้เกิดจากการใช้สารเสพติด ยารักษาโรคหรือโรคทางกาย
การรักษา
การรักษาบำบัดที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีผลดีกับ กลุ่ม Paranoid Schizotypal Borderline Narcissistic และ Obsessive ซึ่งมีเหตุปัจจัยจากสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
การบำบัดจิตที่เน้นการวิเคราะห์จิต มีผลดีกับ กลุ่ม Histrionic
การบำบัดที่เน้นการใช้ประโยชน์จากลุ่มหรือสิ่งแวดล้อม มีผลดีกับ กลุ่ม Antisocial
การบำบัดที่พฤติกรรม มีผลดีกับ กลุ่ม Antisocial Avoidant และ Obsessive
การรักษาด้วยยาทางจิต มีผลดีกับ กลุ่ม Schizotypal Paranoid Anxious และ Antisocial
นายสิทธิชัย นาวิก รหัสนักศึกษา 612601065