Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.5 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล, นางสาวพรภัสส์ษา ภัทรวิกรัยกุล เลขที่ 1…
4.5 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
ความสำคัญของกฏหมายวิชาชีพ มีเกณฑ์ดังนี้
1.อาชีพนั้นจำเป็ฯต่อสังคม
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในวิชาชีพ
3.ให้บริการได้ตามาตรฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
5.มีเอกสิทธิ์ในหารทำงาน
6.มีองค์กรวิชาชีพ
การพยาบาล หมายถึง การดูแลช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย ฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพ
การผดุงครรภ์ หมายถึง การดูแลช่วยเหลือหญิงตั้งครรภ์ หลังคลอด ทารกแรกเกิด
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล มีดังนี้
1.การสอน แนะนำ ให้คำปรึกษาทางสุขภาพ
2.การกระทำต่อร่างกาย/จิตใจ การเบาเทาอาการ การลุกลามของโรค และการฟื้นฟูสภาพ
3.การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
4.การช่วยแพทย์กระทำการรักษาโรค
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ มีดังนี้
1.การสอนแนะนำ ให้คำปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
2.การกระทำต่อร่างกาย/จิตใจ หญิงมีครรภ์ หลังคลอด ทารกแรกเกิด
3.การตรวจ ทำคลอดและการวางแผนครอบครัว
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทำรักษาโรค
พนักงานเจ้าหน้าที่ คือ ผู้ที่รัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฎิบัติหน้าที่ มีอำนาจหน้าที่ดังนี้
1.เข้าไปตรวจสอบใบอนุญาต ค้นหาหรือยึดหลักฐานที่ผิดกฏหมาย
2.เข้าตรวจค้น และต้องแสดงบัตรประจำตัวป้องกันการแอบอ้าง
3.ในการตรวจค้น ผู้ที่ไม่ให้ความสะดวกมีความผิด ได้รับโทษตามที่กำหนด
ฐานะของสภาการพยาบาล มาตรา 6 มีดังนี้
1.เป็นนิติบุคคล ตามกฏหมายแพ่งและพาณิชย์
2.ตั้งขึ้นตามกฏหมาย
นิติบุคคลตามกฏหมาย มีดังนี้
1.เป็นบุคคลสมมติตามกฏหมาย ยกเว้นบุคคลจริงจะมีได้ เช่น การจดทะเบียนสมรส
วัตถุประสงค์/อำนาจหน้าที่/รายได้ของสภาการพยาบาล มีดังนี้
1.งบประมาณแผ่นดิน
2.ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ
3.การหารายได้ของสภาการพยาบาล
รายได้จากงลบริจาค
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตามกฏหมาย มี 2 ประเภทดังนี้
1.สมาชิกสามัญ
2.สมาชิกกิตติมาศักดิ์
โรคต้องห้ามตามข้อบังคับของสภาการพยาบาลมีดังนี้
1.โรคจิตเภท โรคประสาท
2.ติดยาเสพติดให้โทษร้ายแรง ติดสุราเรื้อรัง
3.โรคที่น่ารังเกียจต่อสังคม เช่น โรคเอดส์ โรคเท้าช้าง กามโรค โรคเรื้อน
คุณสมบัติของสมาชิกกิตติมาศักดิ์ มีดังนี้
1.ผู้ทรงคุณวุฒิที่สภาการพยาบาลเห็นสมควร
2.จำนวนอายุ
สิทธิและหน้าที่เมื่อพ้นจากสมาชิก มีดังนี้
1.ตาย
2.ลาออก
3.ขาดคุณสมบัติตามมาตรา11(1)
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ มีดังนี้
1.สำเร็จในประเทศ สัญชาติไทย
2.สำเร็จในต่างประเทศ สัญชาติไทย
3.สำเร็จในต่างประเทศแต่ไม่ใช่สัญชาติไทย
ประเภทขอใบอนุญาต มี 3 ประเภทดังนี้
1.ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้น1และชั้น2
2.ใบแนุญาตประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้น1และชั้น2
3.ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้น1และชั้น2
การพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ มีดังนี้
1.พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
2.ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
3.ใบอนุญาตกมดอายุ
มาตรา 18 คุณสมบัติของกรรมการสภา มีดังนี้
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
2.ไม่เคยถูกสั่งพักใบอนุญาต/เพิกถอนใบอนุญาต
3.ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ความแตกต่างระหว่างคุณสมบัติของกรรมการสภาและสมาชิกสามัญ มีดังนี้
1.ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
2.ไม่เคยถูกพักใช้/เพิกถอนใบอนุญาต
*
กรรมการจะดำรงตำแหน่งมากกว่า 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
หน้าที่ของกรรมการสภาการพยาบาล มีดังนี้
นายกสภา
1.ดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล
2.เป็นผู้แทนสภาในกิจการต่างๆ
3.เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเลขาธิการสภา
เลขาธิการสภา
1.ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไป
2.ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภา
3.รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนต่างๆ
4.ควบคุมทรัพย์สินของสภา
5.เป็นเลขานุการคณะกรรมการ
สภานายกพิเศษ
1.แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
2.รักษาการตามพระราชบัญญัติ มาตรา 5
3.เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเลขาธิการสภา
4.ให้ความเห็นชอบมติของคณะกรรมการในเรื่อง การออกข้อบังคับ การกำหนดงบประมาณ การให้สมาชอกพ้นสภาพ วินิจฉัยชี้ขาด
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการสภา
1.การประชุมคณะกรรมการสภาการพยาบาล
2.การลงมติ
3.การขอความคิดเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
4.การพ้นจากตำแหน่งคณะกรรมการที่ปรึกษา
5.การเข้าแทนตำแหน่งกรรมการสภาที่ว่างลงก่อนครบวาระ
นางสาวพรภัสส์ษา ภัทรวิกรัยกุล เลขที่ 1 36/2 612001081