Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สารชีวโมเลกุล (Biomolecule) - Coggle Diagram
สารชีวโมเลกุล (Biomolecule)
Carbohydrates
Oligosaccharides เกิดจาก monosaccharidesต่อกัน
Polysaccharides
ไม่ละลายน้ำอยู่เป็นคอลลอยด์ ไม่มีสมบัติในการรีดิวซ์ ไม่มีรสหวาน
แบ่งตามองค์ประกอบ
Homopolysaccharide เกิดจากmonosaccharideชนิดเดียวกัน
Heteropolysaccharide เกิดจากmonosaccharideมากกว่า1ชนิด
แบ่งตามหน้าที่ได้ 2 ประเภท
โพลีแซคคาไรด์ชนิดสะสม
แป้งถูกย่อยโดยเอนไซม์ 3ชนิด 1.α-amylase 2.β-amylase 3.α,1-6glucosidase
โพลีแซคคาไรด์ชนิดโครงสร้าง
ผนังเซลล์ของแบคทีเรีย เชื่อมกันด้วยpeptidoglycan
Monosaccharides น้ำตาลโมเลกุลเล็กสุด
โครงสร้าง
แบบเส้นตรง(Fischer Projections Formula)
แบบวงแหวน(Haworth Ring Formula)
Sugar derivatives
Amino sugar
หมู่amino แทนที่หมู่ hydroxyl
Sugar deoxy ไม่พบออกซิเจนของหมู่ OH
Sugar acid
Sugar ester เกิดจากปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ของโมโนแซคคาไรด์
Sugar alcohol
ถูกแทนที่ด้วย OH มีรสหวาน
กรดไขมัน (fatty acid)
กรดไขมันอิ่มตัว
แข็งตัวง่าย จุดหลอมเหลวสูง ไม่เหม็นหืน
กรดไขมันไม่อิ่มตัว
ที่พบมากที่สุด ได้แก่ กรดโอเลอิก กรดไลโนเลอิก
แข็งตัวยาก จุดหลอมเหลวต่ำ เหม็นหืนง่าย
แบ่งตามความจำเป็น
กรดไขมันจำเป็น คือร่างกายสร้างไม่ได้แต่มีความจำเป็น คือ กรดลิโนเลอิก กรดลิโนเลนิก
ไม่ใช่กรดไขมันจำเป็น คือร่างกายสร้างขึ้นเองได้ เช่น กรดสเตียริก กรดโอเลลิก กรดปาลมิติก
ชนิดและการเรียกชื่อไตรกลีเซอร์ไรด์
Simple triacylglycerol
ประกอบด้วยกรดไขมันชนิดเดียวกัน
เรียกตามชนิดของกรดไขมัน ลงท้ายด้วย -in
Mixed triacylglycerol
ประกอบด้วยกรดไขมันมากกว่าหนึ่งชนิด
เรียกชื่อกรดไขมันทุกชนิดพร้อมบอกตำแหน่ง
การศึกษาสมบัติทางเคมี
เลขไอโอดีน วัดความอิ่มตัวของลิพิด
ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส
ปฏิกิริยาซาปอนนิฟิเคชัน
เลขซาปอนนิฟิเคชัน
ปฏิกิริยาไฮโตรจีเนชัน
ลิพิดเบ็ดเตล็ด
สฟิงโกลิปิด
เทอร์พีน
ฟอสโฟลิฟิด
สเตียรอยด์
ไข
ไอโคซานอยด์
กรดอะมิโนและโปรตีน
ประกอบด้วย C H O และ N โครงสร้างจะต่างกันตรงหมู่ R
มี 9 ชนิด Valine Leucine Isoleucine Lysine Threonine Methionine Tryptophan Phenylalanine Histidine ทารกสังเคราะห์ไม่ได้คือ Arginine
Amino acid classification แบ่งตามโซ่ข้าง
ปฏิกิริยาของกรดอะมิโนและโปรตีน
Sanger's reagent สารสีเหลือง
Dansyl chloride มีวงแหวนเบนซีน 2 วง ได้ blue or blue-green-fluorescent
Ninhydrin เกิดสารสีน้ำเงิน
The biuret test ได้ violet-colored
แบ่งตามโครงสร้างได้ 4 แบบ
Secondary structure
Tertiary structure เกิดการรวมตัวกันเป็นก้อน
Primary structure เรียงลำดับกรดอะมิโนให้เห็นชัดเจน เป็นสายยาวตรง
Quaternary structure เกิดจาก Tertiary รวมกันหลายๆก้อน
การจำแนกประเภทของโปรตีน
3-Dimensional structure(โครงสร้าง 3 มิติ)
fibrous protein (โปรตีนเส้นใย) ลักษณะยาว เรียงตัวขนาน ไม่ละลายน้ำ ทนต่อเอนไซม์ เหนียว ทำหน้าที่เป็นโครงสร้าง
globular protein (โปรตีนเส้นใย) ค่อนข้างกลม ละลายน้ำ ย่อยสลายง่ายด้วยกรดและเอนไซม์
Function (หน้าที่)
เร่งปฏิกิริยา ขนส่ง สะสม การเคลื่อนไหว เสริมโครงสร้าง ป้องกัน ควบคุม ตอบสนองต่อการกระตุ้น
composition(องค์ประกอบ)
simple protein มีเฉพาะกรดอะมิโน
conjugated protein มีสารอื่นด้วย(prosthetic group)
การแปลงสภาพของโปรตีน(Denaturation of protein) การคืนสภาพธรรมชาติของโปรตีน(Renaturation of protein) สาเหตุจากโครงรูปผิดไป จากสาเหตุ ความร้อนสูง แสงยูวี กรดแก่ เบสแก่ ตัวทำละลายอินทรีย์ สารซักฟอก โลหะหนัก แรงกล
เอนไซม์ (Enzyme)
มีความจำเพาะ ต่อสารตั้งต้นและจำเพาะต่อปฏิกิยา
แบบจำลองการทำงานของเอนไซม์
แบบแม่กุญแจและลูกกุญแจ เฉพาะเจาะจงต้องเข้ากันได้พอดี
แบบเหนี่ยวนำให้พอดีความยืดหยุ่นสามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้
ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์
ความเข้มข้นของสารตั้งต้น ความเข้มข้นของเอนไซม์ ความเป็นกรด-ด่าง อุณหภูมิ ตัวยับยั้งการทำงานของเอนไซม์