Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.5 ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ, นางสาวศุภาพิชญ์ อรัญศรี รหัสนักศึกษา …
5.5 ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ
Urinarytrac infections
การส่งตรวจ
Urinalysis
Urine culture
ภาวะแทรกซ้อน
Chronicpyelonephritis
Anemia
Low birth weight
Hypertension
Premature labournsion
Septic shock
รกลอกตัวก่อนกำหนด
Abortion
สาเหตุ
เพศสัมพันธ์ทำให้เกิดการช้ำเล็กน้อยบริเวณ ท่อปัสสาวะ
ระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดการคลายตัว
เชื้อแบคทีเรียที่บริเวณลำไส้หรือบริเวณผิวหนังรอบๆทวารหนักและช่องคลอด
การมเีชื้อแบคทเีรียในปัสสาวะซึ่งเชื้อแบคทเีรียที่พบใน ปัสสาวะจะต้องมีปริมาณอย่างน้อย 100,000
Asymtomatic bacterial
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงน้ำชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มี Alcohol เครื่องเทศ
สังเกตการณ์ดนิ้ของเด็กทารก
ดื่มน้ำมากๆ 2,000-3,000 cc./day
ส่งตรวจ Urine culture
สุขวิทยาส่วนบุคคล
Symtomatic bacteriuria
Pyelonephritis
การอกัเสบท าให้หน้าที่ ของไตลดลง
อาจทา ให้เลือดออกที่ไต
ติดเชื้อแบคทีเรียพบมาก ที่สุด คือ E-coli
ไตอกัเสบ ไตวายได้
ปัสสาวะขุ่น(turbid urine)
แบคทีเรียมากกว่า 100,000โคโลนี/ลูกบาศก์เซนติเมตร
ปวดบ้ันเอวCostovertebral angle: Positive
แนวทางการรักษา
ตรวจปัสสาวะซ ้าGA 32-34Wks.
Urinalysis, Culture and sensitivity
คัดกรองสตรีทมี่าฝากครรภ์คร้ังแรก
I/O
ยาปฏิชีวนะ -Ampicillin 1-2 กรัม IV ทุก 6 ชั่วโมง ร่วมกบั gentamicin1 มก./กก. ทุก 8 ชั่วโมง -Ceftriazone1-2 กรัม IV ทุก 24 ชั่วโมง -Trimethoprinsulfamethoxazole 160/800 มก. IV ทุก 12 ชั่วโมง -Aztreonam 1 กรัม IV ทุก 8 ชั่วโมง -Cefazolin 1-2 กรัม IV ทุก 8 ชั่วโมง
Cystitis
Suprapubicpain
WBC RED สูงมากกว่า 8 เซลล์ต่อ มิลลลิติร
ปัสสาวะขุ่น (turbid urine)
การรักษาเหมือนกับ Asymtomatic baeteriuria ➢Ampicillin 500 mg Amoxycillin 500 mg
ปัสสาวะแสบขัด (dysuria)
ไต
➢T1 :
โปรเจสเตอโรนทำให้มีการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ
ความตึงตัวลดลงปริมาณปัสสาวะเหลือค้างมากขึ้น
ไตด้านขวาถูกกดเบียดจากมดลูกทำให้มีขนาดโตกว่าด้านซ้าย
กลูโคสพบในปัสสาวะมากขึ้นสะสมเชื้อแบคทีเรีย
➢T2
Renal plasma flow เพิ่มขึ้น อัตราการกรองเพิ่มขึ้นพบ กลูโคสปนออกมาในปัสสาวะ
➢T3
การไหลเวียนเลือดในไตและอัตราการกรองการขับน้ำลดลง เนื่องจากมดลูกกด Iliac vein
กระเพาะปัสสาวะ
➢T1
มดลูกมีการกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
ความตึงตัวน้อยลง เกิดปัสสาวะค้าง
➢T3
ส่วนนำเคลื่อนต่ำกดเบียดกระเพาะปัสสาวะมีการ คั่งของเลือด เกิดการบวมของท่อและกระเพาะ ปัสสาวะ
อาการแสดงจากการเปลี่ยนแปลงการทำงาน
creatinine ลดลงอยู่ที่ 0.5 mg/dl
BUNอยู่ที่ 8-10 mg/dl
อาการปัสสาวะบ่อย
ไตและท่อไตมีขนาดใหญ่
นางสาวศุภาพิชญ์ อรัญศรี รหัสนักศึกษา 602701098 เลขที่ 97