Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Personality disorder บุคลิกภาพแปรปรวน, นายสิทธิชัย นาวิก รหัสนักศึกษา…
Personality disorder
บุคลิกภาพแปรปรวน
ความหมายของ “บุคลิกภาพ
แบบแผนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ และเป็นลักษณะเฉพาะตัวของบุคคลที่ใช้เป็นแนวทางในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม แบบแผนพฤติกรรมประกอบไปด้วยพฤติกรรมภายนอกที่แสดงออก และพฤติกรรมภายในของบุคคล ซึ่งทำให้บุคคลนั้นเกิดความแตกต่างกัน
ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับบุคลิกภาพ
ทฤษฎีจิตวิทยาวิเคราะห์ของคาร์ล จุง
(Carl G. Jung’s AnalyticalPsychology
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมันต์ ฟรอยด์
(Psychoanalysis Theory)
ทฤษฎีแบบแห่งบุคลิกภาพของเฮนรี่ เอ เมอร์เรย์
(Henry A Murray’s Theory of Personality)
ทฤษฎีแบบแห่งบุคลิกภาพของวิลเลียม เฮอร์เบิร์ท เชลดัน (William Herburg Sheldon’s Type Theories)
ความหมายของ “บุคลิกภาพแปรปรวน”
บุคคลที่มีบุคลิกภาพผิดแปลกหรือเบี่ยงเบนไปจากแบบแผนเดิมอย่างชัดเจนทั้งภายในและภายนอก หรือผิดปกติในลักษณะที่จัดว่าเป็นโรคทางจิตเวชโดยบุคคลนั้นไม่รู้สึกวิตกกังวลต่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของตนเอง เนื่องจากไม่ทราบว่าพฤติกรรมของตนนั้นได้สร้างปัญหาให้กับบุคคลรอบข้าง
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการหล่อหลอมบุคลิกภาพ
พันธุกรรม (Genetics)
ลักษณะทางกาย (Physical characteristics)
พัฒนาการทางสมอง (Brain Development)
โรคทางกายบางชนิด (Disease)
ความผิดปกติทางจิต (Mental Disorder)
ปัจจัยสภาพแวดล้อม (Environment factors)
สภาพแวดล้อมหลังคลอด (Parental environment)
สภาพแวดล้อมขณะคลอด (Parental environment
สภาพแวดล้อมก่อนคลอด (Parental environment)
สาเหตุการเกิด (Etiology)
เกิดจากพัฒนาการตาม Psychoanalysis Theory
ความไม่เหมาะสมของพัฒนาการในระยะต่าง ๆ ตามทฤษฎี Psychosexual development ของ Freud (oral, anal, phallic stages)
โครงสร้างทางจิต (Psychic structure: id, ego, superego) บกพร่อง
ด้านสิ่งแวดล้อม (Psychosocial / Environment stressors)
การเลี้ยงดูของพ่อแม่ เข้มงวด/ ลงโทษ ปล่อยตามใจ ทอดทิ้ง/ ทารุณกรรม ความสัมพันธ์พ่อ-แม่-ลูกไม่ดี
อิทธิพลของคนใกล้ชิด
การขาดที่พึ่ง
การถูกกดขี่ หรือทารุณกรรมทางด้านจิตใจ
ด้านชีวภาพ (Biological factors)
Genetic / familial factors
พบความผิดปกติได้สูงในญาติสายตรง
พบได้สูงในฝาแฝดเหมือน (Monozygotic twins)
Neurotransmitter dysregulation
บางการศึกษาพบว่า serotonin มีระดับต่ำในผู้ที่มีพฤติกรรมพยายามฆ่าตัวตาย
พบระดับของ dopamine เพิ่มขึ้นในผู้ที่มีความผิดปกติของความคิด และการรับรู้
ฮอร์โมน บุคคลที่มีพฤติกรรมหุนหันพลันแล่น (Impulsive) มักจะพบ Testosterone และ estrone สูงกว่าคนปกติ
Schizotypal personality disorder มีความสัมพันธ์กับ platelet monoamine oxidase
(MAO) ที่ต่ำ และมี smooth pursuit eye movement ที่ผิดปกติ
องค์ประกอบของ “บุคลิกภาพ”
องค์ประกอบภายนอก
ลักษณะโครงสร้างของร่างกาย
ลักษณะการแสดงออกทางกายภาพ
องค์ประกอบภายใน
การรับรู้ (Perception) - ทัศนคติ (Attitude)
ค่านิยม (Value) - มโนธรรม (Morality)
ความคาดหวังและความปรารถนา (Expectation and Desire)
แรงจูงใจ (Motive) - อารมณ์ (Emotion)
อุปนิสัย (Habits) - สุขภาพจิต (Mental health)
ประสบการณ์เรียนรู้ในอดีต (Post experience)
เชาวน์ปัญญาและความสามารถเฉพาะ (Intelligence and Capacities)
เชาวน์อารมณ์ (Emotional quotient)
นายสิทธิชัย นาวิก รหัสนักศึกษา 612601065